ภาษาและวัฒนธรรม

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ภาษาและวัฒนธรรม by Mind Map: ภาษาและวัฒนธรรม

1. ภาษา

1.1. ความหมายของภาษา

1.1.1. ภาษา หมายถึงเครื่องมือที่ใช้สื่อสารทำความเข้าใจระหว่างมนุษย์สามารถทำความเข้าใจกันทำได้หลายวิธี เช่น การใช้เสียง การแสดงกิริยาท่าทาง การใช้สัญลักษณ์ การสัมผัส โดยวิธีเหล่านี้ต้องมีการกำหนดความหมายไว้เป็นข้อตกลงร่วมกัน

1.2. ประเภทของภาษา

1.2.1. 1. ภาษาถ้อยคำ (วัจนะภาษา) คือภาษาที่ใช้พูดหรือตัวอักษรในการสื่อสาร

1.2.2. 2. ภาษาท่าทาง (อวัจนะภาษา) คือกิริยาท่าทางต่างๆ ที่สามารถสื่อความหมายได้

1.2.2.1. 1. อาการภาษา เช่น กิริยา ท่าทาง สีหน้า

1.2.2.2. 2. ภาษาสัญลักษณ์ คือ สัญลักษณ์ต่างๆ ที่กำหนดขึ้นแทนความหมาย

1.2.2.3. 3. สัมผัสภาษา คือ การสื่อสารที่ใช้การสัมผัสเพื่อบอกความรู้สึก

1.2.2.4. 4. กายภาษา คือ การสื่อสารให้บุคคลอื่นเข้าใจถึงความคิด ค่านิยม โดยผ่านลักษณะภายนอก เช่น รูปร่าง เสื้อผ้า

1.2.2.5. 5.ปริภาษา คือการสื่อสารทางเสียงที่แสดงความรู้สึกด้วยน้ำเสียง

1.2.2.6. 6. เทศภาษา คือ ระยะห่างหรือช่องว่างสามารถสื่อความหมายให้รู้ถึงความใกล้ชิดสนิทสนมของคน เช่น

1.2.2.7. 7. กาลภาษา คือ เวลาที่สามารถสื่อความหมายในตัวเองได้

1.2.2.8. 8. กลิ่น – รส เป็นสัมผัสภาษาที่สื่อความหมายได้

1.2.2.9. 9. ภาพเป็นอวัจนะภาษาที่สื่อความหมายได้ดีกว่าอักษร เช่น ภาพวาด ภาพถ่าย

1.2.2.10. 10. สี สีทุกสีล้วนมีความหมาย เช่น สีแดงให้ความรู้สึกร้อนแรง สีขาวหมายถึงความสะอาดบริสุทธิ์

1.3. ความสำคัญของภาษา

1.3.1. ภาษาเป็นเครื่องมือในการสื่อสารของมนุษย์

1.3.2. ภาษาเป็นพลังในการรวมตัวเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของคนในสังคม

1.3.3. ภาษาเป็นภาพสะท้อนความเจริญของสังคม

1.3.4. ภาษาเป็นเครื่องมือในการบันทึกและการถ่ายทอดวัฒนธรรม

1.3.5. ภาษาเป็นศิลปะ มีความงดงามในกระบวนการใช้ภาษา

1.4. ระดับภาษา

1.4.1. ภาษาแบบแผน เป็นระดับภาษาที่ใช้พูดหรือเขียนต้องคำนึงถึงความถูกต้อง หลักภาษา เป็นสำคัญ

1.4.2. ภาษากึ่งแบบแผน เป็นภาษาระดับที่ใช้พูดหรือเขียนในโอกาสพูดทั่วไป

1.4.3. ภาษาไม่เป็นแบบแผนหรือที่เรียกว่า ภาษาปาก

1.5. องค์ประกอบสำคัญของภาษา

1.5.1. เสียง

1.5.2. พยางค์และคำ

1.5.3. ประโยค

1.5.4. ความหมาย

2. สาระความความรู้

2.1. 1) ภาษาและวัฒนธรรมไทยเพื่อการเป็นครู

2.2. 2) ภาษาต่างประเทศเพื่อพัฒนาวิชาชีพครู

3. สมรรถนะ

3.1. 1) สามารถใช้ทักษะการฟัง การพูด การอ่าน การเขียนภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ เพื่อสื่อความหมายอย่างถูกต้อง

4. วัฒนธรรม

4.1. ความหมายของวัฒนธรรม

4.1.1. วัฒนธรรมหมายถึงทุกสิ่งทุกอย่างที่มนุษย์สร้างขึ้นทั้งที่เป็นรูปธรรม นามธรรม ซึ่งเป็นผลรวมที่เกิดจากการเรียนรู้และถ่ายทอดของคนในสังคมจากรุ่นหนึ่งไปยังอีกรุ่นหนึ่ง

4.2. องค์ประกอบของวัฒนธรรม

4.2.1. 2) ใช้ภาษาและวัฒนธรรมเพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ

4.2.2. 1. องค์มติ (concept) บรรดาความคิด ความเชื่อ ตลอดจนอุดมการณ์ต่าง ๆ

4.2.3. 2. องค์พิธีการ (usage) หมายถึง ขนบธรรมเนียมประเพณีที่แสดงออกในรูปพิธีกรรม

4.2.4. 3. องค์การ (organization) หมายถึง การวางกฎเกณฑ์ระเบียบข้อบังคับและวัตถุประสงค์ไว้อย่างแน่นอน

4.2.5. 4. องค์วัตถุ (instrumental and symbolic objects) ได้แก่ วัฒนธรรมทาง วัตถุทั้งหลาย

4.3. ความสำคัญของวัฒนธรรม

4.3.1. วัฒนธรรมเป็นเครื่องกำหนดความเจริญหรือความเสื่อมของ

4.3.2. การศึกษาวัฒนธรรมจะทำให้เข้าใจชีวิตความเป็นอยู่ ค่านิยมของสังคม

4.3.3. ทำให้มีความรู้สึกเป็นพวกเดียวกันและให้ความร่วมมือกันได้

4.3.4. ทำให้เกิดความสงบเรียบร้อยในสังคม

4.3.5. ทำให้มีพฤติกรรมเป็นแบบเดียวกัน

4.3.6. ทำให้มนุษย์มีสภาวะที่แตกต่างจากสัตว์

4.3.7. ทำให้เข้ากับคนพวกอื่นในสังคมเดียวกันได้

4.4. ประเภทของวัฒนธรรม

4.4.1. 1. วัฒนธรรมทางวัตถุหมาย ถึงสิ่งประดิษฐ์เทคโนโลยีต่างๆ เช่น หลอดไฟ ตู้เย็น โทรทัศน์ แก้วน้ำ จาน เก้าอี้รถยนต์ เครื่องบิน บ้าน ห้องประชุม

4.4.2. 2. วัฒนธรรมไม่ใช่วัตถุ หมายถึงอุดมการณ์ ค่านิยม แนวความคิด ประเพณี ศาสนา ซึ่งเป็นที่ยอมรับกันในสังคมนั้นๆว่าเป็นสิ่งดีงามที่ควรปฏิบัติสืบต่อกันไป