การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาสุขภาพเกี่ยวกับระบบปัสสาวะ

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาสุขภาพเกี่ยวกับระบบปัสสาวะ by Mind Map: การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาสุขภาพเกี่ยวกับระบบปัสสาวะ

1. ภาวะติดเชื้อแบคทีเรียบริเวณกรวยไตซึ่งอยู่ระหว่างไตกับท่อไต ผู้ป่วยกรวยไตอักเสบจำเป็นต้องได้รับการรักษาด้วยยาปฏิชีวนะอย่างถูกต้องและเร่งด่วน เนื่องจากอาจทำให้ไตเสียหายถาวร หรือติดเชื้อในกระแสเลือดจนเสียชีวิตได้

2. URINARY TRACT INFECTION

2.1. หมายถึง

2.1.1. เป็นโรคที่เกิดขึ้นจากการติดเชื้อแบคทีเรียในระบบทางเดินปัสสาวะ

2.2. ตำแหน่งการติดเชื้อ

2.2.1. ระบบทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง

2.2.1.1. กระเพาะปัสสาวะ (bladder) เรียกว่า “Cystitis”

2.2.1.2. ท่อปัสสาวะ (urethra –ท่อที่ลำเลียงน้ำปัสสาวะออกไปจากร่างกาย) เรียกว่า “Urethritis”

2.2.1.3. ส่วนใหญ่พบในตำแหน่งนี้

2.2.2. ระบบทางเดินปัสสาวะส่วนบน

2.2.2.1. ไต (kidney) เรียกว่า “Pyelonephritis”

2.2.2.2. ท่อไต (ureter – ท่อที่เชื่อมต่อระหว่างไต และ กระเพาะปัสสาวะ) ก็สามารถเกิดขึ้นได้

2.2.2.3. พบได้น้อยกว่า แต่หากมีการติดเชื้อจะรุนแรงกว่าการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง

2.3. สาเหตุ

2.3.1. E. coli (อี. โคไล)

2.3.2. การติดต่อทางเพศสัมพันธ์

2.3.2.1. Herpes (เฮอร์พีรส์)

2.3.2.2. Gonorrhea (โกโนเรีย)

2.3.2.3. Chlamydia (คลาไมเดีย)

2.3.2.4. Mycoplasma (ไมโคพลาสมา)

2.3.3. ปัจจัยเสี่ยงที่เพิ่มโอกาสการติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ

2.3.3.1. ในหญิง > ชาย

2.3.3.1.1. มีท่อปัสสาวะที่ค่อนข้างสั้น

2.3.3.2. ในหญิงที่มีการเช็ดทำความสะอาดที่ไม่เหมาะสม

2.3.3.3. ในชายที่มีต่อมลูกหมากขนาดใหญ่ หรือ มีภาวะต่อมลูกหมากโต (Benign Prostate Hyperplasia-BPH)

2.3.3.4. ปัสสาวะน้อย จากการที่ดื่มน้ำปริมาณน้อยเกินไป

2.3.3.5. เป็นนิ่วบริเวณกรวยไต หรือการอุดกั้นทางเดินปัสสาวะ

2.3.3.6. เป็นโรคเบาหวาน หรือโรคอื่นที่ทำให้ภูมิคุ้มกันในร่างกายลดลง

2.4. ภาวะแทรกซ้อน

2.4.1. เกิดการติดเชื้อซ้ำ

2.4.2. เกิดความเสียหายต่อไตอย่างถาวร

2.4.3. ทำให้ท่อปัสสาวะในผู้ชายตีบแคบลง

2.4.4. เกิดภาวะติดเชื้อในกระแสเลือด (sepsis) โดยเฉพาะในกรณีที่ติดเชื้อบริเวณไต (urosepsis) ซึ่งมีอันตรายถึงแก่ชีวิต

2.5. อาการและอาการแสดง

2.5.1. อาการจากการติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะที่พบได้บ่อย

2.5.1.1. ปัสสาวะบ่อย ครั้งละน้อยๆ ปวดแสบเวลาปัสสาวะ โดยเฉพาะเมื่อสิ้นสุดปัสสาวะ และมักตื่นปัสสาวะกลางคืนบ่อยกว่าปกติ

2.5.1.2. อาจกลั้นปัสสาวะไม่อยู่

2.5.1.3. ปัสสาวะขุ่น มีกลิ่นแรง หรือเหม็น ผิดปกติ

2.5.1.4. อาจมีปัสสาวะเป็นเลือด

2.5.1.5. ปวดท้องน้อย/อุ้งเชิงกราน

2.5.2. อาการจากติดเชื้อทางเดินปัสสาวะอื่นๆที่อาจพบได้

2.5.2.1. อาจมีไข้ต่ำๆ

2.5.2.2. ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ทั่วตัว

2.5.2.3. อ่อนเพลีย คลื่นไส้ อาเจียน

2.5.2.4. เจ็บบริเวณอวัยวะเพศ และ/หรืออุ้งเชิงกรานเมื่อมีเพศสัมพันธ์

2.5.2.5. มีหนอง หรือ สารคัดหลั่งบริเวณอวัยวะเพศ ปากช่องคลอด และ/หรือปากท่อปัสสาวะ

2.5.3. อาการจากติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะตอนบนที่นอกเหนือจากที่กล่าวแล้ว

2.5.3.1. มีไข้ มักเป็นไข้สูง หนาวสั่น

2.5.3.2. ปวดเอวทั้งสองข้าง

2.6. การรักษา

2.6.1. การใช้ยาปฏิชีวนะ

2.6.2. การรักษาสาเหตุ

2.6.3. การรักษาประคับประคองตามอาการ

3. ESRD

3.1. ความหมาย

3.1.1. ไตวายที่มีสาเหตุเกิดจากโรคไตเรื้อรัง โดยเป็นระยะสุดท้ายของโรคไตเรื้อรัง (End stage renal disease) โดยไตจะค่อยๆสูญเสียการทำงานไปเรื่อยๆในระยะเวลานานหลายเดือน หรือหลายปี ขึ้นกับพยาธิสภาพของไตที่ได้เสียไปแล้ว สาเหตุ และการดูแลตนเองของผู้ป่วย ทั้งนี้ไตวายเรื้อรัง มักมีขนาดของไตเล็กลงจากมีพังผืดเกิดแทนที่เซลล์ไตปกติ และไม่มีโอกาสที่ไตจะฟื้นตัวกลับมาปกติได้ นอกจากนั้น ยังมีโอกาสที่จะเกิดไตวายเฉียบพลันซ้ำซ้อน

3.2. สาเหตุ

3.2.1. การขาดเลือดของไต

3.2.1.1. จากอุบัติเหตุ

3.2.1.2. ภาวะขาดน้ำรุนแรง

3.2.1.2.1. กินยาขับน้ำ

3.2.1.2.2. ท้องเสียรุนแรง

3.2.1.2.3. ภาวะหัวใจล้มเหลว

3.2.1.2.4. ความดันโลหิตต่ำ

3.2.2. โรคของเซลล์ไตโดยตรง

3.2.2.1. จากการอักเสบรุนแรงของเซลล์ไตในโรคออโตอิมมูน

3.2.2.2. โรคภูมิต้านตนเอง

3.2.2.3. การได้รับสารพิษบางชนิด

3.2.2.4. ผลข้างเคียงจากยาบางชนิด หรือการกินยาเกินขนาด

3.2.2.5. โรคมะเร็งต่อมน้ำเหลืองที่ลุกลามเข้าไต

3.2.3. การอุดตันของทางเดินปัสสาวะ

3.2.3.1. นิ่วในไต

3.2.3.2. นิ่วในท่อไต

3.2.3.3. นิ่วในกระเพาะปัสสาวะ

3.2.3.4. จากการอุดตันของท่อปัสสาวะ

3.2.3.4.1. โรคมะเร็งต่อมลูกหมาก

3.2.3.4.2. โรคมะเร็งกระเพาะปัสสาวะ

3.3. อาการและอาการแสดง

3.3.1. คลื่นไส้ อาจอาเจียน เบื่ออาหาร ผอมลง/น้ำหนักลด

3.3.2. นอนไม่หลับ

3.3.3. ผิวหนังดำคล้ำ จากของเสียเป็นสาเหตุให้เกิดสารให้สีของผิวหนังเปลี่ยนแปลง

3.3.4. ท้องเสีย

3.3.5. ปัสสาวะบ่อย โดยปริมาณปัสสาวะในแต่ละครั้งอาจมากโดยสีปัสสาวะจะใสใกล้สีของน้ำ

3.3.6. คันตามเนื้อตัว จากของเสียที่คั่งก่อการระคายเคืองต่อผิวหนัง

3.3.7. เป็นตะคริวบ่อย กล้ามเนื้ออ่อนแรง

3.3.8. หัวใจเต้นผิดปกติ หายใจหอบเหนื่อย (หายใจลำบาก)

3.3.9. บวมตามตัว โดยเฉพาะรอบดวงตา ขาและเท้า

3.3.10. ซีด และอาการจากภาวะซีด เช่น เหนื่อยง่าย วิงเวียน เป็นลมง่าย ขาดสมาธิ

3.3.11. เลือดออกตามอวัยวะต่างๆได้ง่าย มีจ้ำห้อเลือดตามเนื้อตัว

3.3.12. อาจมีปวดหลัง หรือปวดเอวในตำแหน่งของไตทั้ง 2 ข้าง

3.3.13. ความดันโลหิตต่ำ

3.3.14. มีโปรตีนปนในปัสสาวะ และอาจปัสสาวะเป็นเลือด

3.3.15. สับสน อาจชัก

3.4. การรักษา

3.4.1. การล้างไต

3.4.2. การรักษาสาเหตุ

3.4.3. การรักษาประคับประคองตามอาการ

4. Pyelonephritis

4.1. หมายถึง

4.2. สาเหตุ

4.2.1. ติดเชื้อแบคทีเรียอีโคไล (E. Coli)

4.2.1.1. การอักเสบต่อเนื่องของกระเพาะปัสสาวะหรือท่อปัสสาวะ

4.2.1.2. การอุดตันของทางเดินปัสสาวะ

4.3. การวินิจฉัย

4.3.1. การตรวจปัสสาวะ

4.3.2. การตรวจเลือด

4.3.3. การตรวจด้วยรังสีวิทยา

4.4. ภาวะแทรกซ้อน

4.4.1. เสี่ยงต่อการติดเชื้อในกระแสเลือด

4.4.2. ไตเสียหายถาวร

4.5. การรักษา

4.5.1. การรักษาสาเหตุ

4.5.2. การรักษาประคับประคองตามอาการ

5. NEPHROTIC SYNDROME

5.1. สาเหตุ

5.1.1. ชนิดปฐมภูมิ

5.1.1.1. เกิดจากโรคที่ส่งผลกระทบต่อไต

5.1.2. ชนิดทุติยภูมิ

5.1.2.1. เกิดจากโรคที่ส่งผลกระทบต่ออวัยวะหลายส่วนในร่างกายรวมทั้งไตด้วย

5.1.3. สาเหตุทำให้กรวยไตเกิดความเสียหายจนไตขับโปรตีนออกมาทางปัสสาวะเป็นปริมาณมาก มีดังนี้

5.1.3.1. กรวยไตเป็นแผล

5.1.3.1.1. โรคบางชนิด

5.1.3.1.2. ความบกพร่องทางพันธุกรรม

5.1.3.1.3. อาจเกิดขึ้นโดยไม่มีสาเหตุ

5.1.3.2. การกรองไตผิดปกติ ส่งผลให้ไตทำงานผิดปกติ(เป็นสาเหตุที่พบบ่อยในเด็ก)

5.1.3.3. การกรองไตผิดปกติ จึงส่งผลให้ไตทำงานผิดปกติ

5.1.3.3.1. โรคไวรัสตับอักเสบ บี

5.1.3.3.2. โรคมาลาเรีย

5.1.3.3.3. โรคมะเร็ง

5.1.3.4. กลุ่มอาการอะมีลอยโดซิส (Amyloidosis)

5.1.3.4.1. เกิดขึ้นเมื่อมีการสะสมของสารโปรตีนอะมีลอยด์ในไต (Amyloid) จนส่งผลให้ไตทำงานผิดปกติ

5.1.3.5. โรคพุ่มพวง หรือโรคแพ้ภูมิตัวเอง

5.1.3.6. โรคไตจากเบาหวาน

5.1.3.7. ลิ่มเลือดอุดตันในหลอดเลือดไต

5.1.3.8. การใช้ยาบงชนิด

5.1.3.8.1. ยาแก้อักเสบ

5.1.3.8.2. ยาต้านการติดเชื้อ

5.2. ความหมาย

5.2.1. กลุ่มอาการโปรตีนรั่วในปัสสาวะ

5.2.2. เป็นกลุ่มอาการโรคไตที่ทำให้ร่างกายขับโปรตีนออกทางปัสสาวะมาก

5.2.3. สาเหตุเกิดจากความผิดปกติที่ผนังหลอดเลือดในไตทำให้ไม่สามารถกรองโปรตีนหรือไข่ขาวได้

5.2.4. กลุ่มอาการนี้เกิดขึ้นได้กับทุกวัย โดยจะพบมากในเด็กอายุ 2-5 ปี

5.2.5. พบในเพศชายมากกว่าเพศหญิง

5.2.6. ผู้ป่วยจะมีอาการบวมน้ำ โดยเฉพาะบริเวณเท้า ข้อเท้า

5.3. อาการ

5.3.1. บวม

5.3.1.1. รอบดวงตา

5.3.1.2. ท้อง

5.3.1.3. แขน ขา ข้อเท้า และเท้า

5.3.2. น้ำหนักตัวเพิ่ม

5.3.3. ปัสสาวะเป็นฟอง

5.3.4. ปวดปัสสาวะน้อยมาก

5.3.5. อ่อนเพลีย

5.3.6. เบื่ออาหาร

5.3.7. ท้องเสีย

5.4. การวินิจฉัย

5.4.1. ประวัติการเจ็บป่วย

5.4.2. ตรวจร่างกาย

5.4.3. ตรวจปัสสาวะโดยเก็บตัวอย่างปัสสาวะใน 24 ชั่วโมง

5.4.3.1. ตรวจปริมาณของโปรตีนที่ปนอยู่ในน้ำปัสสาวะ

5.4.4. ตรวจเลือดเพื่อหาระดับโปรตีนใ

5.4.5. การเก็บตัวอย่างชิ้นเนื้อไปส่งตรวจ

5.5. การรักษา

5.5.1. ขึ้นอยู่กับสาเหตุใช้ยารักษาตามอาการ

5.5.1.1. ยาขับปัสสาวะ

5.5.1.1.1. เพื่อลดอาการบวม

5.5.1.2. ยากดภูมิคุ้มกัน

5.5.1.3. ยาลดคอเลสเตอรอ

5.5.1.3.1. ยากลุ่มนี้จะช่วยลดระดับคอเลสเตอรอลในร่างกาย

5.5.1.4. ยาควบคุมความดันโลหิต

5.5.1.4.1. ลดความดันโลหิตและลดปริมาณโปรตีนในปัสสาวะ

5.5.1.5. ยาเจือจางเลือด

5.5.1.5.1. ลดความเสี่ยงการเกิดลิ่มเลือด

5.6. ภาวะแทรกซ้อน

5.6.1. ความดันโลหิตสูง

5.6.2. ระดับไขมันคอเลสเตอรอลและไตรกลีเซอไรด์ในเลือดเพิ่มสูงขึ้น

5.6.3. ภาวะลิ่มเลือดในหลอดเลือดอุดตัน

5.6.4. ภาวะขาดสารอาหาร

5.6.5. ภาวะไตวายเฉียบพลัน

5.6.6. ภาวะไตวายเฉียบพลัน

5.6.7. อาจเกิดการติดเชื้อ

5.7. การพยาบาล

5.7.1. ป้องกันภาวะ Hypovolemiaและ Hypokalemia

5.7.2. ลดการสูญเสีพลังงาน

5.7.3. ลดการทำงานของหัวใจ

5.7.4. ลดอาการ Dysnea

6. ACUTE GLOMERULONEPHITIS

6.1. ความหมาย

6.1.1. ภาวะการอักเสบของกลุ่มเลือดฝอยของไต (Glomeruli) ซึ่งปกติจะทำหน้าที่กรองของเหลวส่วนเกินหรือของเสียที่ปะปนมาในกระแสเลือดให้กลายเป็นปัสสาวะ ไตอักเสบอาจเป็นภาวะโรคที่เกิดขึ้นเอง แต่ในบางกรณีอาจเป็นผลพวงมาจากโรคชนิดอื่น

6.2. สาเหตุ

6.2.1. การติดเชื้อ

6.2.1.1. Streptococcus

6.2.1.2. Bacterial Endocarditis

6.2.1.3. Viral Infections

6.2.2. โรคทางภูมิคุ้มกัน

6.2.3. โรคหลอดเลือดอักเสบ

6.2.3.1. มี 2 กลุ่ม

6.2.3.1.1. (Polyarteritis)

6.2.3.1.2. (Granulomatosis with Polyangiitis)

6.2.4. ปัจจัยโรคอื่น ๆ

6.2.4.1. โรคความดันเลือดสูง

6.2.4.2. โรคเบาหวาน

6.2.5. โรคนี้มักเกิดตามหลังการติดเชื้อแบคทีเรียที่มีชื่อว่า บีตา-สเตรปโตค็อกคัส กลุ่มเอ (Beta-streptococcus group A)

6.3. การวินิจฉัย

6.3.1. ประกอบด้วย 3 วิธีหลัก

6.3.1.1. การตรวจปัสสาวะ

6.3.1.1.1. เซลล์เม็ดเลือดแดงที่ปะปน

6.3.1.1.2. อาจพบเซลล์เม็ดเลือดขาว

6.3.1.2. การตรวจเลือด

6.3.1.2.1. Creatinine

6.3.1.2.2. Blood Urea Nitrogen: BUN

6.3.1.3. Kidney Biopsy

6.4. อาการและอาการแสดง

6.4.1. ปนเปื้อนของเซลล์เม็ดเลือดแดงในน้ำปัสสาวะ (Hematuria)

6.4.1.1. ปัสสาวะเป็นสีชมพู

6.4.1.2. ปัสสาวะสีโค๊ก โคล่า

6.4.2. อาการบวมน้ำ

6.4.2.1. ใบหน้า

6.4.2.2. มือ

6.4.2.3. เท้า

6.4.2.4. หน้าท้อง

6.4.3. ความดันโลหิตสูง

6.4.4. ปัสสาวะเป็นฟองเนื่องจากมีโปรตีนส่วนเกิน

6.4.5. อาการที่ปรากฏตามร่างกาย

6.4.5.1. อ่อนเพลีย

6.4.5.2. ผื่นคัน

6.4.5.3. ปวดข้อ

6.4.5.4. ปัญหาระบบทางเดินหายใจ

6.5. การรักษา

6.5.1. การรักษาดูแลรักษาตนเองเบื้องต้น

6.5.1.1. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินอาหารช่วยลดระดับความดัน

6.5.1.2. ในรายที่สูบบุหรี่ งดสูบบุหรี่

6.5.2. การรักษาในระดับที่รุนแรง

6.5.2.1. การรักษาด้วยการใช้ยาในกลุ่มยากดภูมิต้านทาน

6.5.2.1.1. ยาซัยโคลฟอสฟาไมด์ (Cyclophosphamide)

6.5.2.2. ยาสเตียรอยด์ (Corticosteroids)

6.5.2.2.1. ยาเพรดนิโซโลน (Prednisolone)

6.5.2.3. ยากดภูมิต้านทานชนิดอื่น ๆ

6.5.2.3.1. ไซโคลสปอริน (Cyclosporin)

6.5.2.3.2. ทาโครลิมัส (Tacrolimus)

6.5.2.3.3. อะซาไธโอพรีน (Azathioprine)

6.5.2.3.4. ริทูซิแมบ (Rituximab)

6.5.2.4. การรักษาด้วยยาขับปัสสาวะ

6.5.2.5. การรักษาความดันโลหิตสูง

6.5.2.5.1. ยาลดความดันโลหิตกลุ่มเอซีอีอินฮิเบเตอร์ (Angiotensin-Converting Enzyme Inhibitors)

6.5.2.5.2. ยาลดความดันโลหิตกลุ่มเออาร์บี (Angiotensin Receptor Blockers)

6.5.2.6. การรักษาภาวะคอเลสเตอรอลสูง

6.5.2.6.1. ยาลดไขมันกลุ่มสตาติน (Statins)

6.5.2.7. การรักษาโดยการเปลี่ยนถ่ายน้ำเหลือง

6.5.2.8. วัคซีนปอดอักเสบ (Pneumonia Influenza Vaccine)

6.5.2.9. การใช้วัคซีน

6.5.2.9.1. วัคซีนไข้หวัดใหญ่ (Seasonal Flu Influenza Vaccine)

6.6. ภาวะแทรกซ้อน

6.6.1. อาจมีความดันโลหิตสูงมาก ๆ

6.6.1.1. จนอาจเกิดอาการทางสมอง

6.6.1.1.1. อาการชัก

6.6.2. อาจพบ ภาวะปอดบวมน้ำ (pulmonary edema)

7. PHIMOSIS

7.1. หมายถึง

7.1.1. ภาวะที่ผิวหนังบริเวณปลายองคชาตหดตัวจนไม่สามารถดึงให้เปิดขึ้นได้ดังปกติ

7.1.1.1. แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ

7.1.1.1.1. Physiologic Phimosis

7.1.1.1.2. Pathologic Phimosis

7.2. สาเหตุการเกิด

7.2.1. ไม่ทราบสาเหตุของภาวะหนังหุ้มปลายองคชาติตีบตั้งแต่แรกเกิดที่แน่ชัด

7.2.2. ภาวะหนังหุ้มปลายองคชาติตีบที่เกิดขึ้นตอนโต

7.2.2.1. การติดเชื้อบริเวณปลายองคชาต

7.2.2.2. ผิวหนังหุ้มปลายองคชาตหรือการเกิดเนื้อเยื่อแผลเป็นบริเวณองคชาตที่ทำให้ผิวหนังสูญเสียความยืดหยุ่นและแข็งกระด้าง

7.3. อาการและอารแสดง

7.3.1. ปกติภาวะ Phimosis จะไม่มีอาการเจ็บปวด

7.3.2. ในภาวะที่มีการรัดแน่นอาจเกิดอาการ

7.3.2.1. ปลายองคชาตและหนังหุ้มปลายองคชาตอักเสบ ทำให้มีอาการบวมแดงและรู้สึกเจ็บปวด

7.3.2.2. ปัสสาวะไม่ออกหรือปัสสาวะลำบาก

7.3.2.3. รู้สึกเจ็บปวดขณะปัสสาวะ

7.3.2.4. รู้สึกเจ็บปวดเมื่อองคชาตแข็งตัว

7.4. การวินิจฉัย

7.4.1. Phimosis และมีอาการผิดปกติอื่น ๆ ร่วมด้วย

7.4.1.1. ปัสสาวะลำบาก

7.4.1.2. รู้สึกเจ็บปวดบริเวณองคชาต

7.5. การรักษา

7.5.1. ขึ้นอยู่กับลักษณะและความรุนแรงของอาการ รวมถึงอายุของผู้ป่วยเป็นหลัก

7.5.1.1. ผู้ป่วยเด็กที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อนใด

7.5.1.1.1. แพทย์จะสอนผู้ปกครองเกี่ยวกับวิธีรูดเปิดผิวหนังหุ้มปลายองคชาตให้เด็กทีละน้อยเป็นประจำทุกวันจนกระทั่งเปิดได้เป็นปกติ

7.5.1.1.2. ใช้ยาสเตียรอยด์ชนิดทาภายนอก เพื่อช่วยให้หนังหุ้มปลายนุ่มและรูดเปิดได้ง่ายขึ้น

7.5.1.1.3. เข้ารับการขลิบหนังหุ้มปลายซึ่งเป็นการผ่าตัดนำหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศออกและช่วยป้องกันการเกิดภาวะนี้ซ้ำ

7.5.1.1.4. ผ่าตัดแยกหนังหุ้มปลายองคชาตออกจากปลายองคชาต

7.6. ภาวะแทรกซ้อน

7.6.1. เจ็บ ปวด

7.6.2. บวมแดง

7.6.3. ปัสสาวะลำบาก

7.6.4. หากปล่อยทิ้งไว้โดยไม่ได้รับการรักษาอาจทำให้เกิดแผลเรื้อรังหรือมีเนื้อตายและสูญเสียองคชาตไปอย่างถาวร

7.6.5. เสี่ยงเกิดมะเร็งองคชาตมากกว่าคนทั่วไปอีกด้วย