วัฒนธรรมไทย

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
วัฒนธรรมไทย by Mind Map: วัฒนธรรมไทย

1. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวัฒนธรรม

1.1. ความสำคัญของวัฒนธรรม

1.1.1. วัฒนธรรมช่วยสร้างระเบียบให้กับสังคม

1.1.2. วัฒนธรรมช่วยให้เกิดความสามัคคี

1.1.3. วัฒนธรรมเป็นตัวกำหนดรูปแบบของสถาบัน

1.1.4. วัฒนธรรมเป็นเครื่องแสดงเอกลักษณ์ของชาติ

1.1.5. วัฒนธรรมช่วยให้ประเทศชาติเจริญก้าวหน้า

1.1.6. วัฒนธรรมเป็นเครื่องมือในการแก้ไขปัญหา

1.2. ประเภทของวัฒนธรรม

1.2.1. คติธรรม

1.2.2. วัตถุธรรม

1.2.3. เนติธรรม

2. วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคกลาง

2.1. วัฒนธรรมด้านอาหาร

2.1.1. แกงส้ม

2.1.2. ห่อหมก

2.1.3. น้ำพริกปลาทู

2.2. วัฒนธรรมด้านศาสนาและลัทธิความเชื่อ

2.2.1. ประเพณีรับบัวโยนบัว

2.2.2. การบูชารอยพระพุทธบาท

3. วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

3.1. วัฒนธรรมด้านอาหาร

3.1.1. แกงหน่อไม้

3.1.2. ลาบ

3.1.3. ส้มตำ

3.2. วัฒนธรรมด้านศาสนาและลัทธิความเชื่อ

3.2.1. บุญบั้งไฟ

3.2.2. การแห่ผีตาโขน

4. แนวทางการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย

4.1. แนวทางการอนุรักษ์และถ่ายทอดวัฒนธรรมไทย

4.1.1. ส่งเสริมให้ชนทุกกลุ่มเห็นคุณค่า

4.1.2. ขยายขอบเขตการมีส่วนร่วมทางวัฒนธรรม

4.1.3. สร้างทัศนคติ ความรู้ ความเข้าใจ

4.1.4. ส่งเสริมให้ประชาชนรู้จักใช้สิทธิและหน้าที่

4.1.5. ส่งเสริมให้ประชาชนรู้จักใช้สิทธิและหน้าที่

4.2. แนวทางการเลือกรับวัฒนธรรมสากล

4.2.1. ต้องสามารถผสมผสานเข้ากับโครงสร้างทางสังคม ค่านิยม และ ขนบธรรมเนียมประเพณีไทยได้

4.2.2. ต้องมีส่วนเกื้อหนุนให้วัฒนธรรมไทยเกิดความก้าวหน้า

5. วัฒนธรรมไทย

5.1. ลักษณะของวัฒนธรรมไทย

5.1.1. เคารพเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์

5.1.2. ยึดถือขนบธรรมเนียมประเพณี

5.1.3. ใช้ภาษาไทยในการสื่อสาร

5.1.4. การนับถือผู้อาวุโส

5.1.5. เป็นวัฒนธรรมเกษตรกรรม

6. วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคเหนือ

6.1. วัฒนธรรมด้านอาหาร

6.1.1. มีลักษณะสำคัญ คือ รสชาติไม่จัด ไม่นิยมใส่น้ำตาลในอาหาร ความหวานจะได้จากส่วนผสมของอาหารนั้นๆ ได้แก่

6.1.1.1. แกงฮังเล

6.1.1.2. แกงแค

6.1.1.3. น้ำพริกหนุ่ม

6.2. วัฒนธรรมด้านศาสนาและลัทธิความเชื่อ

6.2.1. การทำบุญทอดผ้าป่าแถว

6.2.2. งานบุญตานก๋วยสลาก

6.2.3. งานประเพณีสืบชะตา

7. วัฒนธรรมท้องถิ่นภาคใต้

7.1. วัฒนธรรมด้านอาหาร

7.1.1. แกงเหลือง

7.1.2. แกงไตปลา

7.1.3. ข้าวยำ

7.2. วัฒนธรรมด้านศาสนาและลัทธิความเชื่อ

7.2.1. ประเพณีชักพระ

7.2.2. ประเพณีตักบาตรธูปเทียน

8. ความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมไทย กับวัฒนธรรมสากล

8.1. ปรัชญากับธรรมชาติ

8.1.1. วัฒนธรรมไทย

8.1.1.1. เน้นปรัชญา “มนุษย์สอดคล้องกับธรรมชาติ” เป็นอันหนึ่งอันเดียว กับธรรมชาติ

8.1.1.1.1. การทำขวัญข้าว

8.1.1.1.2. ประเพณีบุญบั้งไฟ

8.1.2. วัฒนธรรมสากล

8.1.2.1. เน้นปรัชญา “มนุษย์เป็นนายธรรมชาติ” สามารถบังคับธรรมชาติ ให้ตอบสนองความต้องการของมนุษย์ได้ทั้งหมด จนนำไปสู่การประดิษฐ์คิดค้นวัตถุและเทคโนโลยีที่ทันสมัย เพื่อสร้างความสะดวกสบายให้แก่มนุษย์

8.1.2.1.1. เครื่องบิน

8.1.2.1.2. รถยนต์

8.1.2.1.3. รถไฟฟ้า

8.1.2.1.4. โทรศัพท์มือถือ

8.2. โลกทัศน์

8.2.1. วัฒนธรรมไทย

8.2.1.1. มองโลกแบบองค์รวม ทุกสิ่งหลอมรวมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ไม่สามารถแยกออกจากกันได้ โดยองค์ประกอบทั้งหลายมีความสมดุล ช่วยจรรโลงโลกให้มีความน่าอยู่ รื่นรมย์ และสงบสุข

8.2.2. วัฒนธรรมสากล

8.2.2.1. มองทุกสิ่งเป็น 2 ส่วนเสมอ เช่น ขาว-ดำ ทันสมัย-ล้าสมัย จึงมีความพยายามที่จะปรับเปลี่ยนสิ่งที่ล้าสมัยให้มีความทันสมัยอยู่เสมอ

8.3. วิธีการทางวิทยาศาสตร์

8.3.1. วัฒนธรรมไทย

8.3.1.1. เน้นความคิดความเชื่อตามหลักธรรมทางศาสนา ยึดมั่นในความจริงควบคู่ไปกับแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ บนพื้นฐานความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับมนุษย์ โดยครอบคลุมถึงเรื่องการดำเนินชีวิต ทั้งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม

8.3.2. วัฒนธรรมสากล

8.3.2.1. เน้นทฤษฎีและการพิสูจน์บนพื้นฐานของวิทยาศาสตร์ มีการตั้งสมมติฐาน วิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อให้ได้ข้อสรุปที่เป็นเหตุเป็นผล นำไปใช้ในการพัฒนาเทคโนโลยีที่ทันสมัย เพื่อให้สอดคล้องกับหลักเทคโนโลยีขั้นสูง