ไฟฟ้าสถิต
by mookthida sumaeta
1. แรงไฟฟ้า / แรงคูลอมบ์
1.1. 1. แรงดูด ประจุต่างกัน
1.2. 2. แรงผลัก ประจุที่เหมือนกัน
1.3. กฎของคูลอมบ์
1.4. F = kQ1Q2 / R^2
2. สนามไฟฟ้า ( E )
2.1. คือ บริเวณที่มีแรงไฟฟ้า
2.2. นิยาม E = F/q หน่วย N/C
2.3. สูตร E = kQ / R^2
2.4. สนามไฟฟ้าจากแผ่นตัวนำคู่ขนาน
2.4.1. E = v / d หน่วย V / m
2.4.2. เส้นสมศักย์ = เส้นที่มีศักย์ไฟฟ้าเท่ากัน
2.5. สนามไฟฟ้าจากทรงกลมตัวนำ
2.5.1. กำหนดให้ทรงกลมมีประจุบวก และประจุบวกจะกระจายอยู่บนผิวด้านนอกของทรงกลมเท่านั้น
2.5.2. สนามไฟฟ้าภายในทรงกลมมีค่า = 0
2.5.3. Eผิว = E max = kQ / R^2
2.5.4. R วัดจากจุดศูนย์กลางวงกลม
3. ศักย์ไฟฟ้า
3.1. V = kQ / R หน่วย V
3.2. เป็นปริมาณสเกลาร์
3.3. * คิดเครื่องหมายของประจุไฟฟ้า *
3.4. * ปิดจุดที่สนใจ คิดศักย์รอบจุดนั้น *
3.5. ศักย์ไฟฟ้าจากทรงกลมตัวนำ
3.5.1. V = kQ / R
3.5.2. คักย์ไฟฟ้าด้านใน = คักย์ไฟฟ้าที่ผิว
4. พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ
4.1. พื้นที่ใต้กราฟ = 1/2 * ฐาน * สูง
4.2. พลังงานเฉลี่ย
4.2.1. U = 1/2 QV
4.2.2. U = 1/2 CV^2
4.2.3. U = 1/2 Q^2 /C
5. ประจุไฟฟ้า
5.1. 1. ประจุบวก
5.2. 2. ประจุลบ
6. สภาพไฟฟ้า
6.1. 1. เป็นกลางทางไฟฟ้า
6.2. 2. สภาพไฟฟ้าเป็นลบ ( สูญเสียประจุบวก )
6.3. 3. สภาพไฟฟ้าเป็นบวก ( สูญเสียประจุลบ )
7. งานในการเลื่อนประจุ
7.1. WAB = q( VB - VA ) หน่วย J
7.2. คักย์จุดสิ้นสุด - ศักย์จุดเริ่มต้น
7.3. * งานไม่ขึ้นกับเส้นทาง *
8. ตัวเก็บประจุ ( C )
8.1. ทำหน้าที่ จ่ายประจุไฟฟ้า
8.2. ทำหน้าที่ เก็บประจุไฟฟ้า
8.3. นิยาม C = Q / V หน่วย C / V หรือ F
8.4. การต่อตัว C
8.4.1. 1. ต่อแบบอนุกรม ( ประจุไฟฟ้าไม่แยกไหล )
8.4.1.1. Q รวม = Q1 = Q2
8.4.1.2. V รวม = V1 + V2
8.4.1.3. 1/Cรวม = 1/C1 + 1/C2
8.4.2. 2. ต่อแบบขนาน ( ประจุไฟฟ้าแยกไหล )
8.4.2.1. Vรวม = V1 + V2
8.4.2.2. Qรวม = Q1 + Q2
8.4.2.3. Cรวม = C1 + C2