หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย พุทธศักราช 2551

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย พุทธศักราช 2551 by Mind Map: หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน  ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย  พุทธศักราช 2551

1. 9. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

1.1. 3 ลักษณะ

1.1.1. 9.1 กิจกรรมแนะแนว

1.1.1.1. เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้รู้จักตนเอง วางแผนชีวิตทางด้านการเรียนและอาชีพ สามารถปรับตนได้อย่างเหมาะสม

1.1.2. 9.2 กิจกรรมนักเรียน

1.1.2.1. พัฒนาความมีระเบียบวินัยความเป็นผู้นำผู้ตามที่ดี ความรับผิดชอบ การทำงานร่วมกัน

1.1.3. 9.3 กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์

1.1.3.1. ส่งเสริมให้ผู้เรียน บำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อชุมชนและสังคม

2. 10. ระดับการศึกษา

2.1. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

2.1.1. การศึกษาระดับนี้เน้นการเพิ่มพูนความรู้และทักษะเฉพาะด้าน สนองต่อความสามารถ ความถนัดและความสนใจของผู้เรียน

3. 11. การจัดเวลาเรียน

3.1. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

3.1.1. จัดเวลาเรียนเป็นรายภาค

3.1.2. เรียนวันละไม่น้อยกว่า 6 ชั่วโมง

3.1.3. รายวิชาที่เรียนเป็นหน่วยกิต

3.1.4. 40 ชั่วโมงต่อภาคเรียน

3.1.5. น้ำหนักวิชาเท่ากับ 1 หน่วยกิต

4. 12. โครงสร้างเวลาเรียน

4.1. ระดับมัธยมศึกษาต้องจัดโครงสร้างเวลาเรียนพื้นฐานให้เป็นไปตามกำหนดและ สอดคล้องกับเกณฑ์การจบหลักสูตร

5. 13. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

5.1. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ แบ่งออกเป็น 4 ระดับ

5.1.1. 1.การประเมินระดับชั้นเรียน

5.1.1.1. เป็นการวัดและประเมินผลที่อยู่ในกระบวนการจัดการเรียนรู้

5.1.2. 2.การประเมินระดับสถานศึกษา

5.1.2.1. เป็นการตรวจสอบผลการเรียนของผู้เรียนเป็นรายปี/รายภาค ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

5.1.3. 3.การประเมินระดับเขตพื้นที่การศึกษา

5.1.3.1. เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับเขตพื้นที่การศึกษามาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางของการศึกษาขั้นพื้นฐาน

5.1.4. 4.การประเมินระดับชาติ

5.1.4.1. เป็นการประเมินคุณภาพของผู้เรียนในระดับชาติ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน

6. 14. เกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียน

6.1. 14.1การตัดสิน การให้ระดับ และการรายงานผลการเรียน

6.1.1. ผู้สอนต้องคำนึงถึงการพัฒนาผู้เรียน แต่ละคนเป็นหลัก และต้องเก็บข้อมูลของผู้เรียนทุกด้านอย่างสม่ำเสมอ

6.2. 14.2 เกณฑ์การจบการศึกษา

6.2.1. สำหรับการจบการศึกษาเป็น 3 ระดับ

6.2.1.1. ระดับประถมศึกษา

6.2.1.2. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

6.2.1.3. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

7. 15. เอกสารการศึกษา

7.1. เอกสารหลักฐานการศึกษา แบ่งออกเป็น 2 ประเภท

7.1.1. 15.1 เอกสารหลักฐานการศึกษาที่กระทรวงศึกษาที่การกำหนด

7.1.1.1. 15.1.1 ระเบียบแสดงผลการเรียน

7.1.1.1.1. เป็นเอกสารแสดงผลการเรียนและรับรองผลการเรียนของผู้เรียนตามรายวิชา

7.1.1.2. 15.1.2 ประกาศนียบัตร

7.1.1.2.1. เป็นเอกสารแสดงวุฒิการศึกษาเพื่อรับรองศักดิ์และสิทธิ์ของผู้จบการศึกษาในสถานศึกษาให้ไว้แก่ผู้จบการศึกษาภาคบังคับ

7.1.1.3. 15.1.3 แบบรายงานผู้สำเร็จการศึกษา

7.1.1.3.1. เป็นเอกสารอนุมัติจบหลักสูตรโดยบันทึกรายชื่อและข้อมูลของผู้จบการศึกษา

7.1.2. 15.2.เอกสารหลักฐานการศึกษาที่สถานศึกษากำหนด

7.1.2.1. เป็นเอกสารที่สถานศึกษาจัดทำขึ้นเพื่อบันทึกพัฒนาการ ผลการเรียนรู้และข้อมูลสำคัญเกี่ยวกับผู้เรียน

8. 16. การเทียบโอนผลการเรียน

8.1. 16.1พิจารณาจากหลักฐานการศึกษา

8.2. 16.2พิจารณาจากความรู้ ความสามารถของผู้เรียนโดยการทดสอบทั้งภาคความรู้และภาคปฏิบัติ

8.3. 16.3พิจารณาจากความสามารถและการปฏิบัติในสภาพจริง

9. 17. การบริหารจัดการหลักสูตร

9.1. สถานศึกษามีหน้าที่สำคัญในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา

9.1.1. จัดระเบียบการวัดและประเมินผลในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาต้องพิจารณาให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางศึกษาขั้นพื้นฐาน

9.2. สถานศึกษาสามารถเพิ่มเติม

9.2.1. ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับสภาพปัญหาในชุมชนและสังคม

9.2.2. ภูมิปัญญาท้องถิ่น

9.2.3. ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา

10. 1. วิสัยทัศน์

10.1. มุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

11. 2. หลักการ

11.1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน

11.1.1. 2.1พัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพื้นฐานของความเป็นไทยควบคู่กับความเป็นสากล

11.1.2. 2.2 เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาคและมีคุณภาพ

11.1.3. 2.3สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถิ่น

11.1.4. 2.4 เป็นหลักสูตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยืดหยุ่นทั้ง ด้านสาระการเรียนรู้เวลา และการจัดการเรียนรู้

11.1.5. 2.5 เป็นหลักสูตรการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

11.1.6. 2.6 เป็นหลักสูตรการศึกษาสำหรับศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัยครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย

12. 3. จุดหมาย

12.1. 3.1 มีคุณธรรม จริยธรรม และการนิยมที่พึงประสงค์

12.2. 3.2 มีความรู้อันเป็นสากลและมีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และมีทักษะชีวิต

12.3. 3.3 มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักการออกกำลังกาย

12.4. 3.4 มีความรักชาติ ในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก

12.5. 3.5 มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย

13. 4. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

13.1. 4.1 ความรู้ความสามารถในการสื่อสาร

13.2. 4.2 ความสามารถในการคิด

13.3. 4.3 ความสามารถในการแก้ปัญหา

13.4. 4.4 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

13.5. 4.5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

14. 5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์

14.1. 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์

14.2. 2. ซื่อสัตย์สุจริต

14.3. 3. มีวินัย

14.4. 4. ใฝ่เรียนรู้

14.5. 5. อยู่อย่างพอเพียง

14.6. 6. มุ่งมั่นในการทำงาน

14.7. 7. รักความเป็นไทย

14.8. 8. มีจิตสาธารณะ

15. 6. มาตรฐานการเรียนรู้

15.1. 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้

15.1.1. 1. ภาษาไทย

15.1.2. 2. คณิตศาสตร์

15.1.3. 3. วิทยาศาสตร์

15.1.4. 4. สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

15.1.5. 5. สุขศึกษาและพลศึกษา

15.1.6. 6. ศิลปะ

15.1.7. 7. การงานอาชีพและเทคโนโลยี

15.1.8. 8. ภาษาต่างประเทศ

16. 7. ตัวชี้วัด

16.1. 1.ตัวชี้วัดระบุสิ่งที่ผู้เรียนรู้และปฏิบัติได้

16.2. 2.นำไปใช้ในการกำหนดเนื้อหา

16.3. 3.จัดทำหน่วยการเรียนรู้

16.4. 4.จัดการเรียนการสอน

16.5. 5.เกณฑ์สำคัญสำหรับการวัดประเมินผลเพื่อตรวจสอบคุณภาพผู้เรียน

17. 8. สาระการเรียนรู้

17.1. 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้

17.1.1. 8.1 คณิตศาสตร์

17.1.1.1. นำความรู้ ทักษะ และกระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปใช้ในการแก้ปัญหาการดำเนินชีวิต และการศึกษาต่อการมีเหตุผล

17.1.2. 8.2 วิทยาศาสตร์

17.1.2.1. ค้นคว้าหาความรู้ และแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ เป็นเหตุเป็นผลคิดวิเคราะห์คิดสร้างสรรค์และจิตวิทยาศาสตร์

17.1.3. 8.3 ภาษาไทย

17.1.3.1. ใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร เห็นคุณค่า ภูมิปัญญาไทยและภูมิใจในภาษาประจำชาติ

17.1.4. 8.4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

17.1.4.1. เป็นพลเมืองดี ศรัทธาในหลักธรรมของศาสนา ชาติ และภูมิใจในความเป็นไทย

17.1.5. 8.5 ศิลปะ

17.1.5.1. จินตนาการ สร้างสรรค์ งานศิลปะ สุนทรียภาพ และการให้คุณค่าทางศิลปะ

17.1.6. 8.6 การงานอาชีพและเทคโนโลยี

17.1.6.1. มีความรู้ ทักษะ และเจตคติในการทำงาน การจัดการ การดำรงชีวิต การประกอบอาชีพ และการใช้เทคโนโลยี

17.1.7. 8.7 ภาษาต่างประเทศ

17.1.7.1. มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และวัฒนธรรมการใช้ภาษาต่างประเทศ ในการสื่อสารการแสวงหาความรู้ และการประกอบอาชีพ

17.1.8. 8.8 สุขศึกษา

17.1.8.1. สร้างเสริมสุขภาพพลานามัยของตนเอง และผู้อื่นการป้องกันและปฏิบัติต่อสิ่งต่างๆที่มีผลต่อ สุขภาพอย่างถูกวิธีและทักษะในการดำรงชีวิต