การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีการสร้างความรู้เพื่อส่งเสริมความสามารถในการเรียนรู้ของนักศึกษ...

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีการสร้างความรู้เพื่อส่งเสริมความสามารถในการเรียนรู้ของนักศึกษาพยาบาล The development an instructional model based on constructivist theory to enhance learning abilities of nursing student by Mind Map: การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีการสร้างความรู้เพื่อส่งเสริมความสามารถในการเรียนรู้ของนักศึกษาพยาบาล The development an instructional model based on constructivist theory to enhance learning abilities of nursing student

1. ปัจจุบันสตรีมีครรภ์มีภาวะเสี่ยงต่อการคลอดบุตร การพยาบาลสตรีมีครรภ์หรือมารดาหลังคลอด มีความสำคัญต่อนักศึกษาพยาบาล ซึ่งต้องเป็นผู้ประกอบวิชาชีพพยาบาลและการผดุงครรภ์ เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาผู้เรียนให้เกิดทักษะที่ส่งเสริมความสามารถในการเรียนรู้ประกอบด้วยการวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า และการแก้ปัญหาอย่างยั่งยืน และสามารถนำทักษะเหล่านี้ไปใช้ในการปฏิบัติวิชาชีพพยาลหรือใช้ในการเรียนรู้ตลอดชีวิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ

2. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา

3. วัตถุประสงค์การวิจัย

3.1. 1. เพื่อพัฒนาและหาประสิทธิภาพของรูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฏีการสร้างความรู้ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการเรียนรู้ของนักศึกษาพยาบาล

3.2. 2. เปรียบเทียบความสามารถในการเรียนรู้ของนักศึกษาพยาบาลที่เรียนด้วยรูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฏีการสร้างความรู้ กับ รูปแบบการเรียนการสอนปกติ

3.3. 3. ศึกษาพัฒนาการของความสามารถในการเรียนของนักศึกษาพยาบาล ในช่วงระหว่างการเรียนการสอนโดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีการสร้างความรู้

4. รากฐานของทฤษฎีการสร้างความรู้ (constructivist theory)

4.1. ทฤษฎีพัฒนาการทางเชาว์ปัญญาของเพียเจต์ (Piaget)

4.1.1. เพียเจต์ (Piaget) เน้นพัฒนาการของการคิดเชิงเหตุผล (Logical thinking) จากวัยทารกถึงวัยผู้ใหญ่

4.2. ทฤษฎีปฏิสัมพันธ์และวัฒนธรรม วีโกท์สกี (Vygotsky)

4.2.1. วีโกท์สกี (Vygotsky) เน้นพัฒนาการทางสมองตามความแตกต่างระหว่างบุคคล

5. หลักการแนวคิด ทฤษฎีการสร้างความรู้ (constructivist theory)

5.1. มุ่งเน้น หรือ ส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักวิธีการเรียนรู้

5.2. เชื่อมโยงความรู้ใหม่กับความรู้เดิม

5.3. วิเคราะห์ปัญหาพัฒนาทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต ผ่านกระบวนการสะท้อนคิด (refeective thinking

5.4. เรียนรู้ด้วยการปฏิบัติ (action learning)

6. กระบวนการสอนตามทฤษฎีการสร้างความรู้ (constructivist theory)

6.1. Saettler , Duch, วัชรา เล่าเรียนดี

6.1.1. 1. เตรียมความพร้อมผู้เรียน เร้าความสนใจ

6.1.2. 2. ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอน

6.1.3. 3. ตรวจสอบความเข้าใจ

6.1.4. 4. ขั้นถ่ายโยงความรู้ นำความรู้ไปใช้ในสถานการณ์อื่น

6.1.5. 5. จัดโอกาสและเปิดโอกาสให้ปฏิบัติ

6.1.6. 6. ให้ฝึกเพิ่มเติมโดยอิสระ

6.1.7. 7. สรุปและเสนอผลงาน อภิปราย

6.1.8. 8. ขั้นวัดและประเมินผล

6.2. Gagnon and Collary

6.2.1. 1. เตรียมความพร้อมผู้เรียน เร้าความสนใจ

6.2.2. 2. ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอน

6.2.3. 3. ตรวจสอบความเข้าใจ

6.2.4. 4. ขั้นถ่ายโยงความรู้ นำความรู้ไปใช้ในสถานการณ์อื่น

6.2.5. 5. จัดโอกาสและเปิดโอกาสให้ปฏิบัติ

6.3. Yager

6.3.1. 1. เตรียมความพร้อมผู้เรียน เร้าความสนใจ

6.3.2. 2. ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอน

6.3.3. 3. ตรวจสอบความเข้าใจ

6.3.4. 4. ขั้นถ่ายโยงความรู้ นำความรู้ไปใช้ในสถานการณ์อื่น

7. ผลการวิจัย

7.1. 2. ความสามารถในการเรียนรู้ของนักศึกษาพยาบาลที่เรียนด้วยรูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฏีการสร้างความรู้ กับ การเรียนการสอนปกติ แตกต่างกันอย่างมีนัยยะสำคัญที่ระดัย .05

7.2. 1. รูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีการสร้างความรู้ผ่านการตรวจสอบประสิทธิภาพ มีชื่อว่า "รูปแบบการเรียนการสอนพาร์เซ่ (PARCE Model) มีประสิทธิภาพ เท่ากับร้อยละ 80.88/82.75 เปรียบเทียบกับเกณฑ์ 80/80 สูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้

7.3. 3. พัฒนาการของความสามารถในการเรียนด้านการวิเคราะห์ การสังเคราะห์ และการแก้ปัญหา ในช่วงระหว่างการเรียนการสอนด้วยรูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฏีการสร้างความรู้มีพัฒนาการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง