ปฎิบัติการที่2 อัตราการเกิดปฎิกิริยา

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ปฎิบัติการที่2 อัตราการเกิดปฎิกิริยา by Mind Map: ปฎิบัติการที่2 อัตราการเกิดปฎิกิริยา

1. "clock reaction" คือความสัมพันธ์ของอัตราการเกิดปฎิกิริยากับการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของสารต่างๆในปฎิกิริยา

2. การทดลอง

2.1. สารเคมี

2.1.1. โพแทสเซียมไอโอไดด์

2.1.2. แอมโมเนียมเปอร์ซัลเฟต

2.1.3. โพแทสเซียมคลอไรด์

2.1.4. แอมโมเนียมซัลเฟต

2.1.5. โซเดียมไทโอซัลเฟต

2.1.6. น้ำแป้ง

2.1.7. คอปเปอร์ (II) ซัลเฟต

2.2. อุปกรณ์

2.2.1. ปิเปต

2.2.2. ขวดรูปชมพู่

2.2.3. เทอร์โมมิเตอร์

2.2.4. นาฬิกาจับเวลา

2.3. วิธีการทดลอง

2.3.1. ตอนที่1 ผลของความเข้มข้นต่ออัตราการเกิดปฎิกิริยาและการหากฎอัตรา

2.3.2. ตอนที่2 ผลของอุณหภูมิต่ออัตราการเกิดปฎิกิริยาและหาค่าพลังงานกระตุ้นของปฎิกิริยา

2.3.3. ตอนที่3 ผลของตัวเร่ง

3. วัตถุประสงค์

3.1. เพื่อศึกษาการเกิดปฎิกิริยา

3.2. เพื่อหากฎอัตราของปฎิกิริยาระหว่างไอออนเปอร์ออกซีไดซัลเฟตและไอออนไอโอไดด์

3.3. เพื่อศึกษาผลของอุณหภูมิต่ออัตราการเกิดปฎิกิริยาและหาค่าพลังงานกระตุ้นของปฎิกิริยา

3.4. เพื่อศึกษาผลของสารตัวเร่ง

4. หลักการ

4.1. จลนพลศาสตร์เป็นการศึกษาเกี่ยวกับ

4.1.1. อัตราการเกิดปฎิกิริยา

4.1.2. กลไกการเกิดปฎิกิริยา

4.2. ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฎิกิริยา ได้แก่

4.2.1. ธรรมชาติของสารตั้งต้น

4.2.2. ความเข้มข้นของสารตั้งต้น

4.2.3. อุณหภูมิ

4.2.4. ตัวเร่ง

4.3. กฎอัตราดิฟเฟอเรนเชียลเรียกสั้นๆว่ากฎอัตรา

4.4. การศึกษาผลของอุณหภูมิต่ออัตราการเกิดปฎิกิริยาและหาค่า K ของปฎิกิริยาที่อุณหภูมิต่างๆจะทำให้สามารถหาค่าพลังงานกระตุ้นของปฎิกิริยาได้จากสมการอาร์เรเนียส