บทที่3 การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
บทที่3 การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค by Mind Map: บทที่3 การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค

1. เด็กที่ได้รับยากดภูมิคุ้มกันสามารถให้ท๊อกซอยและวัคซีนชนิดเชื้อไม่มีชีวิตได้

2. หลักการทั่วไปในการให้วัคซีน

2.1. วัคซีนหลายชนิดอาจให้พร้อมกันในวันเดียวกันได้

2.1.1. แต่หากเป็นวัคซีนไวรัสเชื้อมีชีวิต ถ้าไม่ให้พร้อมกันจะต้องเว้นระยะห่าง1 เดือน

2.2. การให้วัคซีนห่างเกินกว่ากำหนดไม่ทำให้ภูมิคุ้มกันลดลง

2.3. ผู้ที่เจ็บป่วยเล็กน้อย เช่น ไอ หวัด หรือไข้ต่างๆ สามารถให้วัคซีนได้

2.3.1. เด็กที่มีไข้ให้เลื่อนการฉีกวัคซีนออกไป

2.4. ผู้ที่ได้รับอิมมูโนโกลบุลิน พลาสมา หรือเลือดมาไม่ถึง 3 เดือน ไม่ควรให้วัคซีนไวรัสที่มีชีวิต

2.4.1. Antibodyที่เพิ่มขึ้นไปทำลายวัคซีนเชื้อมีชีวิตตายหมดจึงไม่กระตุ้นให้สร้างภูมิต้านทาน

2.5. เด็กที่เคยได้รับวัคซีนดีทีพีแล้วมีไข้สูง มากกว่า 40.5 องศาเซลเซียสภายใน 48 ชม.หลังฉีด

2.5.1. ครั้งต่อไปไม่ควรให้วัคซีนรวม DTwP

2.5.2. ควรให้เฉพาะ โรคคอตีบ และบาดทะยัก(DT)

2.6. เด็กที่เคยแพ้ไข่ ไม่ควรให้MMR

2.7. ทารกที่คลอดก่อนกำหนดควรให้วัคซีนเหมือนเด็กที่เกิดครบกำหนด

2.8. เด็กที่มีภูมิคุ้มกันผิดปกติงดการให้วัคซีนเชื้อมีชีวิต

2.9. เด็กที่มีโรคทางประสาทที่ยังควบคุมไม่ได้ไม่ควรได้รับวัคซีนโรคไอกรน

2.10. เด็กที่มีประวัติครอบครัวเป็นโรคชักสามารถให้วัคซีนได้

2.11. การฉีดวัคซีนที่มีadjuvantควรให้เข้ากล้ามเนื้อเท่านั้น

2.12. เด็กที่ติดเชื้อHIVสามารถได้รับวัคซีนทุกชนิด

2.13. เด็กที่ได้รับยากลุ่มsteroid

2.13.1. กินเกิน 2 สัปดาห์ ให้หยุดยา 1 เดือน จึงจะสามารถรับวัคซีนเชื้อมีชีวิต

2.13.2. กินไม่เกิน 2 สัปดาห์ให้วัคซีนเชื่อมีชีวิตได้เลยหลังหยุดยา

2.14. ผู้ป่วยได้รับยาsteroidชนิดทาหรือฉีดสามารถให้วัคซีนได้

2.15. ทารกที่คลอดก่อนกำหนดควรได้รับวัคซีนตามอายุหลังคลอด

3. การให้วัคซีนเด็กปกติทั่วไป

3.1. แรกเกิด

3.1.1. BCG HB1ถ้ามารดาHBsAg possitiveต้องเพิ่มHBIG

3.2. 1เดือน

3.2.1. HB2

3.3. 2เดือน

3.3.1. OPV DTwP-HB-Hib1 Rota1

3.4. 4เดือน

3.4.1. PV1 OPV2 DTwP-HB-Hib2 Rota2

3.5. 6เดือน

3.5.1. OPV3 DTwP-HB-Hib3 Rota3

3.6. 9-12เดือน

3.6.1. MMR1 LAJE1

3.7. 18เดือน

3.7.1. OPV4 DTwP4

3.8. 2-21/2ปี

3.8.1. LAJE2 MMR2

3.9. 4ปี

3.9.1. OPV5 DTwP5

3.10. ชั้นประถมศึกษาปีที่5

3.10.1. HPV1 HPV2 วัคซีนมะเร็งปากมดลูกเข็มที่2 ห่างกัน 6 เดือน

4. วัคซีนเมื่ออายุ 1-6ปีขึ้นไป

4.1. 0 เมื่อพบเด็กครั้งแรก

4.1.1. DTP-HB1 OPV1 IPV1 MMR1 BCG

4.2. เดือนที่ 1

4.2.1. DTP-HB2 OPV2 LAJE1

4.3. เดือนที่ 2

4.3.1. MMR2

4.4. เดือนที่ 4

4.4.1. DTP-HB3 OPV3

4.5. เดือนที่12

4.5.1. DTP4 OPV4 LAJE2

5. การบริหารและจัดเก็บวัคซีน

5.1. อุณหภูมิ 2-8 องศาเซลเซียส

5.2. OPV เก็บในช่องแช่แข็(Freezer)

5.3. MMR/MR,BCGและLE ผงแห้งเก็บอุณหภูมิ+2ถึง+8องศาเซลเซียส

6. การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค

6.1. ทารกในครรภ์ได้รับภุมิคุ้มกันทางรก

6.2. ภูมิคุ้มกันต่อแบคทีเรีย หมด1-2เดือนหลังคลอด จากเชื้อไวรัสอยู่นาน 6 เดือนหลังคลอด

6.3. ภูมิคุ้มกันในเด็กแบ่งได้ 2 ชนิด

6.3.1. Active immunization

6.3.1.1. กระตุ้นให้ร่างกายสร้าภูมิคุ้มกันเอง

6.3.1.2. แบ่งได้ 3 กลุ่ม

6.3.1.2.1. กลุ่ม ท๊อกซอยด์

6.3.1.2.2. กลุ่มวัคซีนเชื้อไม่มีชีวิต

6.3.1.2.3. กลุ่มวัคซีนชนิดเชื้อมีชีวิต

6.3.2. Passive immunization

6.3.2.1. การให้antibody เข้าไปในร่างกายโดยตรงและสามารถป้องกันโรคได้ทันที

7. วิธีการให้วัคซีน

7.1. การกิน(Oral rout)

7.1.1. ต้องการกระตุ้นภูมิคุ้มกันเฉพาะที่

7.1.2. ส่วนมากใช้กับวัคซีนชนิดเชื้อมีชีวิต

7.2. การฉีดเข้าในหนัง(Intradermal หรือ Intracutaneous route)

7.2.1. ใช้เมื่อต้อวการลดantigenให้น้อยลง

7.3. การฉีดเข้าใต้หนัง(Subcutaneous route)

7.3.1. ใช้กับวัคซีนที่ไม่ต้องการให้ดูดซึมเร็ว

7.3.2. วัคซีนป้องกันโรคหัด ควาทูม และหัดเยอรมัน วัคซีนป้องกันไข้ทัยพอยต์ วัคซีนป้องกับไข้สมองอักเสบ/LE

7.4. การฉีดเข้ากล้าเนื้อ(Intramuscular route)

7.4.1. ต้องการให้ดูดซึมดี

7.4.2. ควรฉีดบริเวณต้นแขน(Deltoid) บริเวณกึ่งกลางต้นขา ด้านหน้าค่อนไปทางด้านนอก(Midanterolateral thight)

8. การให้วัคซีนเด็กอายุ 7 ปีขึ้นไป

8.1. 0 เมื่อพบเด็กครั้งแรก

8.1.1. dT1 OPV1 IPV MMR/MR BCG

8.2. เดือนที่1

8.2.1. HB1 LAJE1

8.3. เดือนที่2

8.3.1. dT2 OPV2 HB2

8.4. เดือนที่7

8.4.1. HB3

8.5. เดือนที่12

8.5.1. dT3 OPV3 LAJE2

9. วัคซีน

9.1. วัคซีนป้องกันวัณโรค(Bacille Calmette Guerin:BCG)

9.1.1. วัคซีนแบคทีเรียเื้อมีชีวิต ฉีดเข้าในผิวหนัง 0.1cc เกิดตุ่มหนอง

9.1.2. ข้อห้าม

9.1.2.1. ผู้ป่วยมีแผลไฟไหม้น้ำร้อนลวก

9.1.2.2. ติดเชื้อ HIV ที่ทีอาการ

9.2. วัคซีนป้องกันโรคคอตีบบาดทะยัก ไอกรน(Diptheria Tetanus Pertussive Vaccine:DTP)

9.2.1. มี 2 ปบบ

9.2.1.1. DTwP

9.2.1.1.1. แบบทั้งเซลล์ Whole cell pertussis vaccine

9.2.1.2. มีปัญหาภูมิคุ้มกันบกพร้อง

9.2.1.3. DTaP

9.2.1.3.1. แบบไร้เซลล์ Acellular pertussis vaccine

9.2.2. ให้ช่วงอายุ 2 4 6 เดือน และฉีดกระตุ้นอีก 2 เข็ม

9.2.3. ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ

9.2.4. ข้อควรระวัง

9.2.4.1. ห้ามให้DTPเด็กอายุเกิน 6 ปีเพราะอาจเกิดอาการทางสมองจากวัคซีนไอกรนได้ใช้dTแทน

9.2.4.2. ไม่ฉีดในเด็กที่มีประวัติชักหรือโรคระบบประสาท

9.2.4.3. ไม่ฉีดกับเด็กระยะที่มีโปลิโอระบาด

9.2.4.4. ไม่ฉีดในเด็กป่วยหรือมีไข้

9.3. วัคซีนป้องกันโปลิโอ

9.3.1. มีทั้งชนิดกิน(Oral PoliomyclitisVaccine:OPV)และชนิดฉีด(Inactivated PolioVaccime:IPV)

9.3.2. ให้ครั้งแรก 2 4 6 เดือนและกระตุ้น 1 1/2ปีและ 4-6 ปี

9.4. วัคซีนป้องกันโรคหัด หัดเยอรมัน คางทูม (Mump Measles Rubellar Vaccine:MMR)

9.4.1. สามารถให้กับวัคซีนอีสุกอีใสแต่ต้องให้ห่างกัน 1 เดือน

9.4.2. ให้ครั้งแรก 9-12 เดือน ครั้งที่ 2 เมื่่ออายุ 4-6 เดือน

9.4.3. ปฏิกิริยาที่พบ ไข้ มีผื่นออกจางๆ

9.5. วัคซีนป้องกันไข้สมองอักเสบเจอี(Japanese Encephalitis:JE)

9.5.1. วัคซีนเชื้อเป็น ฉีด 2 ครั้งพร้อม MMR

9.5.1.1. ครั้งที่ 1 เมื่อ 9-12เดือน

9.5.1.2. ครั้งที่ 2 เมื่อ 2-2 1/2 ปี

9.5.2. ขนาดวัคซีน 1dose คือ0.5 cc

9.6. วัคซีนโรตา(Rota virus)

9.6.1. ป้องกันการติดเชื้อทางเดินอาหารรุนแรง

9.6.2. ให้3 ครั้ง ตอน 2 4 6 เดือน

9.6.3. เป็นชนิดหยอดทางปาก

9.7. วัคซีนHB(Haemophilus influenza type B)

9.7.1. เข็มเดียวป้องกันได้5 โรค (DTwP-HB-Hib )

9.7.1.1. โรคคอตีบ บาดทะยัก ไอกรน (DTwP)

9.7.1.2. ตับอักเสบบี(HB)

9.7.1.3. เยื่อหุ้มสมองอักเสบ(Hib)

9.7.2. ให้ 3 ครั้ง เมื่อ 2 4 6 เดือน

9.8. วัคซีนHPV(HumanPapilloma Virus)

9.8.1. ป้องกันมะเร็งปากมดลูก

9.8.2. ฉีดช่วงอายุ9-26ปี

9.8.3. ให้2 เข็ม ห่างกัน 6 เดือน

9.9. วัคซีนอีสุกอีใส(Varicella vaccine)

9.9.1. ฉีด 2เข็มโดยห่างกัน 2 เดือน เริ่มใหเมื่อเด็กอายุ1ปีขึ้นไป

9.9.2. ผลข้างเคียง มีอาการปวดบวม แดง คัน ชาบริเวณที่ฉีด มีผื่นขึ้ร