โรคระบบทางเดินหายใจ

Comienza Ya. Es Gratis
ó regístrate con tu dirección de correo electrónico
โรคระบบทางเดินหายใจ por Mind Map: โรคระบบทางเดินหายใจ

1. โครงสร้างระบบหายใจ

1.1. 1.conducting division

1.1.1. ตั้งแต่ nasal cavity,pharynx, larynx, trachea, bronchi, bronchiole, terminal bronchiole

1.1.2. หน้าที่ของ conducting division

1.1.2.1. 1.เป็นทางเดินของอากาศ

1.1.2.2. 2.ให้ความชื้นแก่อากาศที่จะผ่านเข้าปอด

1.1.2.3. 3.อุ่นอากาศที่จะผ่านเข้าสู่ปอด

1.1.2.4. 4.ทำความสะอาดอากาศ

1.2. 2.Respiratorydivision

1.2.1. ตั้งแต่ respiratory bronchiole,alveolar duct, alveolar sac, alveoli

2. โรคจมูกอักเสบจากภูมิแพ้ (Allergic Rhinitis)

2.1. เป็นโรคที่มีความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน

2.1.1. เกิดหลังจากได้รับสารก่อภูมิแพ้เข้าไป

2.1.2. แล้วเกิดการอักเสบของเยื่อบุจมูก

2.1.3. ทำให้เกิดอาการคัน น้ำมูกไหล จาม และคัดจมูก

2.2. ตรวจหาจำนวนเซลล์เกี่ยวกับการอักเสบจากภูมิแพ้

2.2.1. พบ Eosinophil ในเลือดสูง

2.2.1.1. จำนวนEosinophil ในน้ามูก พบมากกว่า ร้อยละ 30ของเม็ดเลือดขาวที่ตรวจพบ

2.2.2. ตรวจหาจานวนเซลล์เกี่ยวกับการอักเสบจากภูมิแพ้

2.2.2.1. พบ Mast cellและ Basophil มากกว่าคนปกติ

3. ไข้หวัด(Common cold)

3.1. เป็นการติดเชื้อของจมูกและคอ

3.1.1. Upper respiratory tract infection

3.1.1.1. เกิดจากเชื้อไวรัส รวมเรียกcoryza viruses

3.1.1.1.1. Rhino-viruses

3.1.1.1.2. Adenoviruses

3.1.1.1.3. Respiratory syncytial virus

3.2. เมื่อเชื้อเข้าสู่จมูกและคอจะทำให้เยื่อจมูกบวม และแดง

3.2.1. exudate เป็นน้ำหรือมูกใส

3.2.1.1. เรียก Catarrhal inflammation

3.2.2. exudate ข้นหรือเป็นหนอง

3.2.2.1. เรียก Purulent inflammation

4. โรคริดสีดวงจมูก (Nasal polyp)

4.1. เกิดเยื่อบุจมูกอักเสบ บวมขึ้นเรื่อยๆ

4.1.1. มีน้ำคั่ง กลายเป็นก้อนในจมูก

4.2. ทำให้เกิดเป็นก้อนในจมูกมากที่สุด

4.2.1. บางครั้งก้อนใหญ่จนออกมานอกจมูกลงมาในคอ

4.3. ปัจจัยที่ทำให้เกิด

4.3.1. 1. การติดเชื้อที่จมูก

4.3.2. 2. โรคภูมิแพ้

4.3.3. 3. ภาวะอื่น ๆ

4.3.3.1. ความผิดปกติของmucopolysaccharide

4.3.3.1.1. เช่น cystic fibrosis

4.3.3.2. การแพ้ยา

4.3.3.2.1. เช่น Aspirin

4.3.3.3. การอุดตัน

4.3.3.3.1. เช่น mechanical obstruction

5. ไซนัสอักเสบ(Sinusitis)

5.1. Sinusเป็นกลุ่มของช่องอากาศในกะโหลกศีรษะและใบหน้าอยู่โดยรอบจมูก

5.1.1. ทำให้ลมหายใจอบอุ่น ชุ่มชื้น

5.1.2. ช่วยกรองอากาศในรูจมูก

5.1.3. ช่วยให้เสียงพูดมีความก้อง

5.2. เป็นการอักเสบของโพรงอากาศข้างจมูก

5.2.1. ชนิดเฉียบพลัน

5.2.2. ชนิดเรื้อรัง

5.3. สาเหตุ

5.3.1. มีเชื้อโรคเข้าไปทาให้เยื่อบุอักเสบ

5.4. รูเปิดของ sinus มีขนาดเล็กลง

5.4.1. เมื่อมีการอักเสบจึงอาจตีบหรือตันได้ง่าย

5.4.1.1. exudate มักขังอยู่ภายใน

5.4.1.1.1. เป็นหนอง เรียก empyema

5.4.1.1.2. เป็น mucous เรียก mucocele

5.5. สาเหตุ

5.5.1. 1.การติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจตอนบน (Upper respiratory tract infection)

5.5.1.1. ระยะแรกเกิดจากเชื้อไวรัส

5.5.1.2. ต่อมาอาจมีการติดเชื้อแบคทีเรียร่วมด้วย

5.5.1.3. ถ้าติดเชื้อรุนแรง อาจมีการทาลายของเยื่อบุจมูกและเยื่อบุไซนัส

5.5.1.3.1. ทาให้มีการบวมและมีพังผืด

5.5.2. 2.การติดเชื้อของฟัน

5.5.2.1. ร้อยละ 10 ของการอักเสบของ Maxillary sinus

5.5.2.1.1. สาเหตุจากฟันผุ

5.5.3. 3.โรคติดเชื้ออื่น

5.5.3.1. ไข้หวัดใหญ่

5.5.3.2. โรคหัด

5.5.3.3. โรคไอกรน

5.5.4. 4.การว่ายน้ำ ดำน้ำ

5.5.4.1. เกิดการสำลักน้ำเข้าไปในจมูกและในไซนัสได้

5.5.4.2. อาจมีเชื้อโรคเข้าไปด้วย ทาให้เกิดการอักเสบได้

5.5.5. 5.การกระทบกระแทกอย่างแรงบริเวณใบหน้า

5.5.5.1. ทำให้ไซนัสโพรงอันใดโพรงหนึ่งแตกหัก

5.5.5.2. ทำให้เกิดการอักเสบติดเชื้อได้

5.5.6. 6.มีสิ่งแปลกปลอมในจมูก

5.5.6.1. เมล็ดผลไม้ก่อการอุดตันโพรงจมูก

5.5.6.2. เป็นสาเหตุให้เกิดการติดเชื้อทั้งในโพรงจมูกและในไซนัส

6. คออักเสบ (Pharyngitis)

6.1. เป็นโรคที่พบบ่อยในระบบทางเดินหายใจ

6.2. สาเหตุ

6.2.1. การติดเชื้อไวรัสหรือแบคทีเรีย

6.2.1.1. ต่อมามีเชื้อแบคทีเรียแทรกซ้อน Beta Streptococcus group A

6.2.1.1.1. เยื่อบุ pharynx จะอักเสบมากขึ้น

6.2.1.1.2. ถูกคลุมด้วย exudate

6.3. คออักเสบจากเชื้อ Beta Streptococcus group A

6.3.1. ไม่มีน้ำมูกหรือไอหรือน้ำตาไหล

6.3.2. มีไข้สูง เจ็บคอ ครั่นเนื้อครั่นตัว

6.3.3. ตรวจพบคอแดง

6.3.3.1. ต่อมทอนซิลจะมีหนอง

6.3.3.2. ลิ้นไก่บวม

6.3.3.3. ต่อมน้าเหลืองโต

7. กล่องเสียงอักเสบ (Laryngitis)

7.1. ก่อให้เกิด

7.1.1. ความเจ็บปวด

7.1.2. เสียงหาย

7.1.3. เสียงเปลี่ยนไปจากเดิม

7.2. สาเหตุที่พบบ่อย

7.2.1. 1.การติดเชื้อไวรัส หรือเชื้อแบคทีเรีย

7.2.2. 2.โรคภูมิแพ้

7.2.3. 3.การได้รับสารเคมี

7.2.3.1. เช่น ควันบุหรี่

7.2.4. 4.การใช้เสียงมากเกินไป

7.2.4.1. เช่น คนที่ร้องเพลง

7.2.5. 5.การเกิดกรดไหลย้อนในกระเพาะอาหาร

7.3. Laryngoepiglottitis พบในเด็กเล็ก

7.3.1. เกิดจากเชื้อ Hemophilus influenza

7.3.1.1. เยื่อบุ Epiglottis และ vocal cord อาจบวมมาก จนหายใจไม่ออก

7.4. Croup หรือ Laryngotracheobronchitis มักพบในเด็ก

7.4.1. เกิดจากเชื้อไวรัส การอักเสบ ทำให้ทางเดินหายใจตีบแคบ

7.4.2. เวลาหายใจมีเสียงดัง เรียก Stridor

7.4.3. Laryngeal polyp

7.4.3.1. เป็นตุ่มนูนที่ยื่นขึ้นมาจากผิวของ vocal cord

7.4.3.1.1. เกิดจากการระคายเคืองเรื้อรัง

8. โรคของปอด

8.1. ถุงลมแฟบ (Atelectasis)

8.1.1. ภาวะถุงลมแฟบโดยที่ไม่เคยขยายตัวเลย

8.1.1.1. ถ้าเกิดขึ้นกับเนื้อปอดปริมาณมาก

8.1.1.1.1. ทำให้ขาดออกซิเจน

8.1.1.1.2. ทาให้ติดเชื้อได้ง่าย

8.1.2. เคยขยายตัวแล้วกลับแฟบลงภายหลัง

8.2. ปอดบวมน้า (Pulmonary edema)

8.2.1. ภาวะที่มีการคั่งของสารน้าในถุงลมของเนื้อปอด

8.2.1.1. ทำให้ไม่สามารถทำหน้าที่แลกเปลี่ยนก๊าซได้ตามปกติ

8.2.1.1.1. เกิดภาวะการหายใจล้มเหลว

8.2.2. สาเหตุ

8.2.2.1. จากหัวใจซีกซ้ายล้มเหลว

8.2.2.1.1. ทำให้ไม่สามารถบีบไล่เลือดออกจากระบบไหลเวียนในปอดได้ทัน

8.2.2.2. เกิดการบาดเจ็บต่อเนื้อปอดหรือระบบหลอดเลือดของปอด

8.2.2.2.1. ปอดบวมน้ำเหตุอื่นซึ่งไม่ใช่หัวใจ

8.2.2.2.2. noncardiogenic pulmonary edema

8.3. ถุงลมโป่งพอง(Emphysema)

8.3.1. เนื้อปอดค่อยๆเสื่อมสภาพ

8.3.1.1. จากการได้รับควันบุหรี่

8.3.1.1.1. สารไนโตรเจนไดออกไซด์ในควันบุหรี่

8.3.1.1.2. ทำลายเนื้อเยื่อในปอดและในถุงลมให้ฉีกขาดทีละน้อย

8.3.1.1.3. รวมตัวกลายเป็นถุงลมที่มีขนาดใหญ่ขึ้น

8.3.2. พื้นที่ผิวเนื้อเยื่อภายในปอดมีขนาดเล็กลง

8.3.2.1. จึงต้องหายใจเร็วขึ้น

8.3.2.1.1. เพื่อให้ออกซิเจนเข้าสู่ร่างกายเพียงพอ

8.4. หลอดลมอักเสบเรื้อรัง (Chronic Bronchitis)

8.4.1. เกิดจาก

8.4.1.1. การติดเชื้อเรื้อรัง

8.4.1.2. ภูมิแพ้ ฝุ่นละอองและการ สูบบุหรี่เป็นเวลานาน

8.4.2. เยื่อบุหลอดลมจะหนา

8.4.2.1. มี mucous secreting gland จำนวนมากขึ้น

8.4.3. มีการหลั่งเมือก (เสมหะ) ออกมามากกว่าปกติ

8.4.3.1. หลอดลมมีลักษณะตีบแคบลง

8.4.3.1.1. ทำให้ลมหายใจเข้าออกได้ยากลำบากขึ้น

8.4.4. วินิจฉัยผู้ป่วย

8.5. หอบหืด(Bronchial Asthma)

8.5.1. ภาวะที่ทางเดินหายใจมีการตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นต่างๆมากเกินไป

8.5.1.1. ทำให้มีการหดเกร็งของหลอดลม

8.5.1.1.1. มีเสมหะเพิ่มขึ้น

8.5.2. มีอาการหายใจลำบากมาก

8.5.2.1. ได้ยินเสียงวี๊ดเกิดขึ้น (Wheezing and severe dyspnea)

8.5.2.1.1. หายได้เอง

8.5.2.1.2. หายเมื่อได้รับยาขยายหลอดลม

8.5.3. สาเหตุ

8.5.3.1. 1.Extrinsic asthma

8.5.3.1.1. เกิดจากการแพ้สารภายนอก

8.5.3.1.2. antigen เหล่านี้

8.5.3.2. 2.Intrinsic asthma

8.5.3.2.1. เกิดจากปริมาณ IgE ไม่สูง

8.5.4. ขณะมีอาการหอบหืด

8.5.4.1. หลอดลมจะมีขนาดตีบลงเนื่องจาก

8.5.4.1.1. 1.มีการหดตัวของกล้ามเนื้อเรียบทางหลอดลม

8.5.4.1.2. 2.เยื่อบุหลอดลมจะหนาขึ้นกว่าปกติ

8.5.4.1.3. 3.มีเสมหะเป็นมูกเหนียว และ มีeosinophil

8.6. หลอดลมโป่งพอง (Bronchiectasis)

8.6.1. ภาวะที่หลอดลมขนาดเล็กเกิดการพองตัวอย่างถาวร

8.6.1.1. เกิดการเปลี่ยนแปลงของเยื่อบุผิวและผนังของหลอดลม

8.6.1.1.1. ทำให้มีการติดเชื้ออักเสบได้บ่อย

8.6.2. พบได้ในคนทุกวัย

8.6.2.1. แต่พบมากในช่วงอายุ 20-40 ปี

8.6.3. สาเหตุ

8.6.3.1. 1.มักเกิดจากการติดเชื้อของปอด

8.6.3.1.1. ปอดอักเสบ,วัณโรคปอด, ไอกรน

8.6.3.2. 2.การอุดกั้นของหลอดลม

8.6.3.2.1. มีสิ่งแปลกปลอมอยู่ในหลอดลม มีก้อนเนื้องอกหรือมะเร็งมากดหลอดลม

8.6.4. มีไอเรื้อรัง

8.6.4.1. เสมหะเป็นหนองจำนวนมากและมีกลิ่นเหม็น

8.6.4.1.1. ตั้งทิ้งไว้จะ แยกออกเป็น 3 ชั้น

8.6.5. มักจะได้ยินเสียง crepitationและเสียง rhonchi

8.6.6. พบนิ้วปุ้ม (clubbing of fingers)

8.6.6.1. มีสารVascular Endothelial Growth Factor (VEGF) เพิ่มมากขึ้นกว่าปกติ

8.6.6.1.1. ทำให้หลอดเลือดฝอยส่วนปลายของร่างกาย เกิดการขยายตัวและเพิ่มจำนวน

8.7. ปอดอักเสบ(Pneumonia)

8.7.1. เป็นการอักเสบของเนื้อปอด

8.7.1.1. มีการบวม หนองขัง

8.7.1.1.1. เกิดอาการหายใจหอบ เหนื่อย

8.7.2. สาเหตุ

8.7.2.1. เชื้อไวรัสแบคทีเรีย เชื้อรา ปรสิต

8.7.2.2. สิ่งแปลกปลอมการสูดดมสารเคมี

8.7.2.3. การสาลักเศษอาหารหรือน้าย่อยจากกระเพาะอาหาร

8.7.3. Lobar pneumonia เป็นปอดบวมที่ปอดกลีบใดกลีบหนึ่ง

8.7.3.1. เกิดจากเชื้อ Pneumococci

8.7.4. Bronchopneumonia

8.7.4.1. เป็นรอบๆหลอดลมส่วนปลายและกระจัดกระจายไปมากกว่ากลีบใดกลีบหนึ่งของปอด

8.7.5. สาเหตุ

8.7.5.1. 1.เชื้อไวรัส

8.7.5.1.1. พบมากกว่าร้อยละ 42

8.7.5.1.2. เชื้อไวรัสที่ทาให้เกิดโรค

8.7.5.2. 2. เชื้อแบคทีเรีย

8.7.5.2.1. สาเหตุของโรคปอมบวมมากที่สุด

8.7.5.2.2. ส่วนใหญ่เกิดจากเชื้อ

8.7.5.3. 3. ปอดบวมจากการสาลัก (aspirated pneumonia)

8.7.5.3.1. เกิดจากการสาลักอาหารหรือสิ่งแปลมปลอมเข้าไปในปอด

8.7.5.4. 4. ปอดบวมจากสาเหตุอื่น

8.8. วัณโรคปอด( Pulmonary Tuberculosis)

8.8.1. เกิดจาก Mycobacterium tuberculosis

8.8.1.1. เชื้อในเสมหะกระจายโดยการหายใจ

8.8.1.1.1. เกิดพยาธิสภาพกับอวัยวะทุกแห่งของร่างกาย

8.8.2. Primary Pulmonary Tuberculosis

8.8.2.1. เกิดขึ้นในรายที่รับเชื้อวัณโรคในครั้งแรก

8.8.2.2. ต่อมน้ำเหลืองที่ ขั้วปอด ( hilarlymph node )

8.8.2.2.1. เกิดโรคด้วยทำให้ต่อมน้าเหลืองโต และมีเนื้อตายcaseous

8.8.2.3. ตำแหน่งที่เชื้อเข้าไปสู่ทำให้เกิดรอยโรคครั้งแรก

8.8.2.3.1. เป็นบริเวณเนื้อปอดที่อากาศถ่ายเทได้มากที่สุด

8.8.2.4. เมื่อเชื้อเข้าไปจะถูกจับกินโดย alveolar macrophage

8.8.2.5. มี macrophage เข้าทาปฏิกิริยารวมกลุ่ม

8.8.2.5.1. เกิดเป็น Tubercle เรียกรอยโรคที่เนื้อปอดว่า

8.8.2.6. ถ้าบริเวณเนื้อตายมีขนาดเล็ก

8.8.2.6.1. ถูกกำจัดโดย macrophage รอบๆ

8.8.3. Post Primary Pulmonary Tuberculosis

8.8.3.1. เกิดโรคหลังจากได้รับเชื้อมาก่อน

8.8.3.1.1. ส่วนใหญ่จะเกิดจากเชื้อที่สงบ

8.8.3.2. รอยโรคที่เนื้อปอดมักเป็นบริเวณ

8.8.3.2.1. Apex หรือ subapical ของปอดกลีบบนเนื่องจากบริเวณนี้มีความดันออกซิเจนสูง

8.8.3.3. ลักษณะของรอยโรค

8.8.3.3.1. เป็น tubercle และ caseation

8.9. น้าในเยื่อหุ้มปอด (Pleural effusion)

8.9.1. เป็นการสะสมของของเหลวระหว่างชั้นของเยื่อหุ้มปอดกับภายในช่องอก

8.9.2. มีอยู่ 2ประเภท

8.9.2.1. 1.น้าในเยื่อหุ้มปอดที่เป็นของเหลวใส (Transudativepleural effusion)

8.9.2.1.1. เกิดจากหัวใจล้มเหลว ไตวาย ตับแข็ง

8.9.2.2. 2.น้าในเยื่อหุ้มปอดที่เป็นของเหลวขุ่น

8.9.2.2.1. เกิดจากการอักเสบ

8.10. ลมในเยื่อหุ้มปอด (Pneumothorax)

8.10.1. Open pneumothorax

8.10.1.1. ภาวะลมคั่งในช่องเยื่อหุ้มปอดชนิดที่มีบาดแผล

8.10.1.1.1. เป็นแบบ sucking chest wound

8.10.1.2. ขณะหายใจเข้า

8.10.1.2.1. อากาศจากภายนอกจะไหลผ่านเข้าสู่ช่องเยื่อหุ้มปอดทางบาดแผล

8.10.1.3. ขณะหายใจออก

8.10.1.3.1. มีอากาศถูกดันออกจากช่องเยื่อหุ้มปอดเพียงเล็กน้อย

8.10.1.4. ลมเข้าได้ และออกได้

8.10.1.5. ไม่มี mediastenal shift

8.10.1.6. ถ้าขนาดรูบาดแผลใหญ่ เป็น 2ใน 3ของขนาดหลอดลม

8.10.1.6.1. ผู้ป่วยจะมีอาการหายใจลำบาก

8.10.1.6.2. มีภาวะขาดออกซิเจนเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว

8.10.2. Tension pneumothorax

8.10.2.1. เกิดจากมีแผลฉีกขาดที่ผนังอกทะลุเข้าสู่ช่องเยื่อหุ้มปอด

8.10.2.1.1. บาดแผลมีลักษณะเฉียงแฉลบหรือขอบแผลกระรุ่งกระริ่ง

8.10.2.1.2. ปากแผลทาหน้าที่คล้ายลิ้นหรือประตูที่เป็น one way valve

8.10.2.2. เวลาหายใจเข้า

8.10.2.2.1. ลมจะผ่านแผลรั่วเข้าสู่ช่องเยื่อหุ้มปอดได้

8.10.2.3. เวลาหายใจออก

8.10.2.3.1. แรงดันในช่องเยื่อหุ้มปอดจะลดลง

8.10.2.4. ลมเข้าได้ แต่ออกไม่ได้

8.10.2.5. มี mediastenalshift