รัฐธรรมนูญไทย 2560

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
รัฐธรรมนูญไทย 2560 by Mind Map: รัฐธรรมนูญไทย 2560

1. ฉบับที่ 20

1.1. King ร.10 ตราในรัชกาลที่ 2

1.2. ประกาศลงราชกิจจานุเบกษา 6 เม.ย. 60

1.3. ลุงตู่รับสนองราชโองการ

1.4. 16 หมวด 1 บท เฉพาะกาล 279 มาตรา

2. หมวด 1 บททั่วไป

2.1. ม.1 ประเทศไทยเป็นราชอาณาจักรอันหนึ่งอันเดียว จะแบ่งแยกมิได้

2.2. ม.2 ประเทศไทยมีการปกครองระบอบ ปชต.อันมี King ทรงเป็นประมุข

2.3. ม.3

2.3.1. อํานาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย

2.3.2. Kingใช้อํานาจนั้นทาง

2.3.2.1. รัฐสภา (นิติบัญญัติ

2.3.2.2. คณะรัฐมนตรี (บริหาร)

2.3.2.3. ศาล (ตุลาการ)

2.4. ม.4 ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคล

2.5. มาตรา 5

2.5.1. รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ

2.5.1.1. บทบัญญัติใดของกฎหมาย กฎ หรือข้อบังคับ หรือการกระทําใด ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ

2.5.1.2. บทบัญญัติหรือการกระทํานั้นเป็นอันใช้บังคับมิได้

2.5.2. เมื่อไม่มีบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้บังคับแก่กรณีใด ให้กระทําการนั้นหรือวินิจฉัยกรณีนั้น ไปตามประเพณีการปกครองประเทศไทย

3. หมวด 2 KING

3.1. ม.6 King ดำรงอยู่ในฐานะอัน

3.1.1. ที่เคารพสักการะผู้ใดจะละเมิดมิได้

3.1.2. ผู้ใดจะกล่าวหา หรือฟ้องร้อง King ในทางใดๆ มิได้

3.2. ม.7 King เป็นพุทธมามกะ และเป็นอัครศาสนูปถัมภก

3.3. ม.8 King ดำรงตำแหน่งจอมทัพไทย

3.4. ม.10

3.4.1. King แต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิ เป็น ปธ.อมต. 1 คน

3.4.2. King แต่งตั้ง อมต.อื่น ไม่เกิน 18 คน

3.4.3. คณะ อมต. =ปธ.อมต.+อมต.อื่น=ไม่เกิน 19 คน

3.5. ม.11

3.5.1. เลือกแต่งตั้ง+สั่งพ้นตำแหน่ง ให้เป็นไปตามพระราชอัธยาศรัย

3.5.2. ปธ.รัฐสภาเป็นผู้ลงนามรับฯ แต่งตั้ง ปธ.อมต. หรือ ให้ ปธ.อมต. พ้นจากตําแหน่ง

3.5.3. ปธ.อมต. เป็นผู้ลงนามรับฯ แต่งตั้ง อมต. อื่นหรือให้ อมต. อื่นพ้นจากตําแหน่ง

4. หมวด 3

4.1. สิทธิและเสรีภาพ

4.1.1. บุคคลย่อมเสมอกันในกฎหมาย

4.1.2. บุคคลย่อมมีสิทธิและเสรีภาพในชีวิตและร่างกาย

4.2. สิทธิ

4.2.1. ชายและหญิงมีสิทธิเท่าเทียมกัน

4.2.2. ความเป็นอยู่ส่วนตัว เกียรติยศ ชื่อเสียง และครอบครัว

4.2.3. ทรัพย์สินและการสืบมรดก

4.2.4. ได้รับทราบข้อมูลข้าวสารร้องทุกข์

4.2.5. การอนุรักษ์ ฟื้นฟู ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม

4.2.6. บริการสารณสุขจากรัฐ

4.2.7. มารดาในระหว่างก่อนและหลังคลอดบุตร

4.2.8. อายุเกิน 60 รายได้ไม่เพียงพอได้รับการช่วยเหลือจากรัฐ

4.3. เสรีภาพ

4.3.1. บุคคลย่อมมีเสรีภาพบริบูรณ์ในการถือศาสนา

4.3.2. เคหสถาน

4.3.3. การแสดงความคิดเห็น

4.3.3.1. การพูด การเขียน

4.3.3.2. การพิมพ์ การโฆษณา

4.3.3.3. และการสื่อความหมายโดยวิธีอื่น

4.3.4. การติดต่อสื่อสารถึงกันไม่ว่าในทางใดๆ

4.3.5. การเดินทางและการเลือกถิ่นที่อยู่

4.3.6. การประกอบอาชีพ

4.3.7. การรวมกันเป็นสมาคมสหกรณ์องค์กร หรือชุมชน

4.3.8. การชุมนุมโดยสงบ No อาวุธ

4.3.9. การจัดตั้งพรรคการเมือง ส้มหลุด

5. หมวด 4 หน้าที่ปวงชนชาวไทย

5.1. พิทักษ์รักษา ชาติ ศาสนา KING และ ปชต.

5.2. ป้องกันประเทศ พิทักษ์รักษาเกียรติภูมิผลประโยชน์ชาติ

5.3. ปฏิบัติตามกฎหมายอย่างเคร่งครัด

5.4. เข้ารับการศึกษาอบรมในการศึกษาภาคบังคับ

5.5. รับราชการทหารตามที่กฎหมายบัญญัติ

5.6. เคารพและไม่ละเมิดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลอื่น

5.7. ไปใช้สิทธิเลือกตั้งหรือลงประชามติอย่างอิสระ

5.8. ร่วมมือและสนับสนุนการอนุรักษ์และคุ้มครอง

5.8.1. สิ่งแวดล้อม

5.8.2. ทรัพยากรธรรมชาต

5.8.3. ความหลากหลาย ทางชีวภาพ

5.8.4. รวมทั้งมรดกทางวัฒนธรรม

5.9. เสียภาษีอากรตามที่กฎหมายบัญญัติ

5.10. ไม่ร่วมมือหรือสนับสนุนการทุจริตและประพฤติมิชอบทุกรูปแบบ

6. หมวดที่ 5 หน้าที่ของรัฐ

6.1. ม.54

6.1.1. รัฐต้องดําเนินการให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษาเป็นเวลาสิบสองปี

6.1.1.1. ตั้งแต่ก่อนวัยเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับ

6.1.1.2. อย่างมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย

6.1.2. รัฐต้องดําเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษาตามวรรคหนึ่ง เพื่อพัฒนา

6.1.2.1. ร่างกาย

6.1.2.2. จิตใจ

6.1.2.3. วินัย

6.1.2.4. อารมณ

6.1.2.5. สังคม

6.1.2.6. และสติปัญญาให้สมกับวัย

6.1.3. รัฐต้องดําเนินการให้ประชาชนได้รับการศึกษาตามความต้องการในระบบต่างๆ

6.1.3.1. ส่งเสริมให้มีการเรียนรู้ตลอดชีวิต

6.1.3.2. จัดให้มีการร่วมมือกันระหว่าง

6.1.3.2.1. รัฐ

6.1.3.2.2. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

6.1.3.2.3. และภาคเอกชน

6.1.3.2.4. ในการจัดการศึกษาทุกระดับ

6.1.3.3. โดยรัฐมีหน้าที่

6.1.3.3.1. ดําเนินการ

6.1.3.3.2. กํากับ

6.1.3.3.3. ส่งเสริม

6.1.3.3.4. และสนับสนุน

6.1.3.3.5. ให้มีคุณภาพและได้มาตรฐานสากล

6.1.4. การศึกษาทั้งปวงต้องมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็น

6.1.4.1. คนดี

6.1.4.2. มีวินัย

6.1.4.3. ภูมิใจในชาติ

6.1.4.4. สามารถเชี่ยวชาญได้ ตามความถนัดของตน

6.1.4.5. และมีความรับผิดชอบต่อ

6.1.4.5.1. ครอบครัว

6.1.4.5.2. ชุมชน

6.1.4.5.3. สังคม

6.1.4.5.4. ประเทศชาติ

6.1.5. รัฐต้องดําเนินการให้ผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ได้รับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการศึกษา ตามความถนัดของตน

6.1.6. ให้จัดตั้งกองทุนเพื่อใช้ในการช่วยเหลือผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์

6.1.6.1. ลดความเหลื่อมล้ำในการศึกษา

6.1.6.2. เสริมสร้างและพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพครู

7. หมวด 6 แนวนโยบายของรัฐ

7.1. ม.64

7.1.1. เป็นแนวทางให้รัฐดําเนินการตรากฎหมาย

7.1.2. และกําหนดนโยบายในการบริหารราชการแผ่นดิน

7.2. ม.65 รัฐพึงจัดให้มียุทธศาสตร์ชาติเป็นเป้าหมายการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน

7.2.1. ตามหลักธรรมาภิบาล

7.2.2. ใช้เป็นกรอบในการจัดทําแผนต่างๆ ให้สอดคล้องและบูรณาการกัน

7.2.3. การจัดทํา การกําหนดเป้าหมาย ระยะเวลาที่จะบรรลุเป้าหมาย และสาระที่พึงมีในยุทธศาสตร์ชาติ

7.2.3.1. ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ

7.2.3.2. วิธีการที่กฎหมายบัญญัติ

7.2.3.2.1. การมีส่วนร่วม

7.2.3.2.2. การรับฟังความคิดเห็นของประชาชนทุกภาคส่วน

7.2.3.2.3. อย่างทั่วถึงด้วย

7.2.4. ยุทธศาสตร์ชาติ เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ให้ใช้บังคับได้

7.2.4.1. ร่างยุทธศาสตร์ชาติ20 ปี 60-79

7.2.4.2. ยุทธศาสตร์ชาติ20 ปี 61-80

7.3. ม.76รัฐพึงพัฒนาระบบบริหารราชการแผ่นดินทั้ง

7.3.1. ราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น และงานของรัฐอย่างอื่น

7.3.2. ให้เป็นไปตามหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

8. หมวด 7 รัฐสภา

8.1. สภาผู้แทนราษฎร

8.1.1. 500 คน

8.1.1.1. แบ่งเขตเลือกตั้ง 350 คน

8.1.1.2. บัญชีรายชื่อ 150 คน

8.1.2. อายุคราวละ 4 ปี

8.1.3. สภาสิ้นสุดเลือกภายใน 45 วันนับแต่สิ้นสุด

8.1.4. ตำแหน่งว่างให้เลือกตั้งแทน ยกเว้นอายุสภาไม่ถึง 180 วัน

8.1.5. ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นประธานรัฐสภา

8.1.6. คุณสมบัติผู้มีสิทธิ์สมัครรับเลือกตั้ง

8.1.6.1. มีสัญชาติไทยโดยการเกิด

8.1.6.2. มีอายุไม่ต่ํากว่ายี่สิบห้าปีนับถึงวันเลือกตั้ง

8.1.6.3. เป็นสมาชิกพรรคการเมืองใดพรรคการเมืองหนึ่งแต่เพียงพรรคการเมืองเดียว

8.1.6.3.1. เป็นเวลาติดต่อกันไม่น้อยกว่าเก้าสิบวันนับถึงวันเลือกตั้ง

8.1.6.3.2. ว้นแต่ในกรณีที่มีการเลือกตั้งทั่วไปเพราะเหตุยุบสภา ลดลงเหลือ 30 วัน

8.1.6.4. ผู้สมัครรับเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง

8.1.6.4.1. มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในจังหวัดที่สมัครรับเลือกตั้งมาแล้วเป็นเวลาติดต่อกัน ไม่น้อยกว่าห้าปีนับถึงวันสมัครรับเลือกตั้ง

8.1.6.4.2. เป็นบุคคลซึ่งเกิดในจังหวัดที่สมัครรับเลือกตั้ง

8.1.6.4.3. เคยศึกษาในสถานศึกษาที่ตั้งอยู่ในจังหวัดที่สมัครรับเลือกตั้งเป็นเวลาติดต่อกัน ไม่น้อยกว่าห้าปีการศึกษา

8.1.6.4.4. เคยรับราชการหรือปฏิบัติหน้าที่ในหน่วยงานของรัฐ หรือเคยมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน ในจังหวัดที่สมัครรับเลือกตั้ง แล้วแต่กรณี เป็นเวลาติดต่อกันไม่น้อยกว่าห้าปี

8.2. วุฒิสภา

8.2.1. 200 คน วาระแรก มี 250 คน

8.2.1.1. เลือกกันเองของบุคคล

8.2.1.2. การเลือก ตราเป็น "พระราชกฤษฎีกา"

8.2.2. สว.โดยตำแหน่งวาระแรก มี 6 คน

8.2.3. อายุคราวละ 5 ปี

8.2.4. ประธานวุฒิสภาเป็นรองประธานรัฐสภา

8.2.5. คุณสมบัติ

8.2.5.1. มีสัญชาติไทยโดยการเกิด

8.2.5.2. มีอายุไม่ต่ำกว่า 40 ปีในวันสมัครรับเลือก

8.2.5.3. มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์ หรือทํางานในด้านที่สมัครไม่น้อยกว่าสิบปี

8.2.5.4. เกิด มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน ทํางาน หรือมีความเกี่ยวพันกับพื้นที่ที่สมัครตามหลักเกณฑ์ และเงื่อนไขที่บัญญัติไว

8.3. คุณสมบัติผู้มีสิทธิเลือกตั้ง

8.3.1. มีสัญชาติไทย แต่บุคคลผู้มีสัญชาติไทยโดยการแปลงสัญชาติ ต้องได้สัญชาติไทยมาแล้ว ไม่น้อยกว่าห้าปี

8.3.2. มีอายุไม่ต่ํากว่าสิบแปดปีในวันเลือกตั้ง

8.3.3. มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในเขตเลือกตั้งมาแล้วเป็นเวลาไม่น้อยกว่าเก้าสิบวันนับถึงวันเลือกตั้ง

8.4. บุคคลต้องห้ามมิให้ใช้สิทธิเลือกตั้ง

8.4.1. เป็นภิกษุ สามเณร นักพรต หรือนักบวช

8.4.2. อยู่ในระหว่างถูกเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งไม่ว่าคดีนั้นจะถึงที่สุดแล้วหรือไม่

8.4.3. ต้องคุมขังอยู่โดยหมายของศาลหรือโดยคําสั่งท่ชอบด ี ้วยกฎหมาย

8.4.4. วิกลจริตหรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ

9. หมวด 8 คณะรัฐมนตรี

9.1. ลุงตู่

9.1.1. Kingแต่งตั้ง

9.1.2. ได้รับการแต่งตั้งจากความเห็นชอบมาตรา 159

9.1.3. ปธ.ผู้แทนราษฎร ลงนามรับสนองฯแต่งตั้ง นายกฯ

9.1.4. นายกฯดํารงตําแหน่งรวมกันไม่เกิน 8 ปีมิได้

9.1.5. อายุไม่ต่ำกว่า 35 ปี

9.2. รัฐมนตรี

9.2.1. King แต่งตั้งไม่เกิน 35 คน

9.3. ต้องแถลงนโยบายต่อรัฐสภา ภายใน 15 วัน

10. หมวด 10 ศาล

10.1. ศาลยุติธรรม

10.1.1. พิพากษาคดีทั้งปวง เว้นแต่กำหนดไว้เป็นอำนาจศาลอื่น

10.1.2. มีแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองใน"ศาลฎีกา" : องค์ผู้พิพากษา 5-9 คน

10.2. ศาลปกครอง

10.2.1. พิพากษาคดีปกครอง

10.2.2. มีศาลปกครองสูงสุด และ ศาลปกครองชั้นต้น

10.3. ศาลทหาร

10.3.1. พิพากษาคดีอาญาที่ผู้กระทำผิดเป็นบุคคลซึ่งอยู่ในอำนาจศาลทหารและคดีอื่นๆ

10.4. ตั้งขึ้นโดย "พระราชบัญญัติ"

10.5. King แต่งตั้ง และให้ผู้พิพากษา ตุลาการพ้นจากตำแหน่ง

11. หมวด 11 ศาลรัฐธรรมนูญ

11.1. ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ 9 คน King แต่งตั้ง

11.2. คณะกรรมการสรรหาตุลาการศาล

11.2.1. ประธานศาลฎีกา

11.2.2. ประธานสภาผู้แทนราษฎร และผู้นำฝ่ายค้าน

11.2.3. ประธารศาลปกครองสูงสุด

11.2.4. บุคคลองค์กรอิสระ องค์กรละ 1 คน

11.3. ตุลาการศาลฯ มีอายุไม่ตํ่ากว่า 45 แต่ไม่เกิน 68 ปีในวันที่ได้รับการคัดเบือก

12. หมวด 12 องค์กรอิสระ วาระคราวละ 7ปี

12.1. คณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) 7 คน

12.2. ผู้ตรวจการแผ่นดิน 3 คน

12.3. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ 9 คน

12.4. คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน 7 คน

12.5. คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน 7 คน

12.6. อายุไม่ตํ่ากว่า 45 ปีแต่ไม่เกิน 70 ปี

13. หมวด 16 การปฏิรูปประเทศ

13.1. เป้าหมายการปฏิรูป

13.1.1. ประเทศชาติมีความสงบเรียบร้อย มีความสามัคคีปรองดอง มีการพัฒนาอย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

13.1.2. สังคมมีความสงบสุข เป็นธรรม และมีโอกาสอันทัดเทียมกันเพื่อขจัดความเหลื่อมล้ํา

13.1.3. ประชาชนมีความสุข มีคุณภาพชีวิตที่ดี และมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศและการปกครองแบบปชต.อันมีKing

13.2. ม.258 ให้ดําเนินการปฏิรูปประเทศอย่างน้อยในด้านต่าง ๆ ให้เกิดผล

13.2.1. ด้านการเมือง

13.2.2. ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน

13.2.3. ด้านกฎหมาย

13.2.4. ด้านกระบวนการยุติธรรม

13.2.5. ด้านการศึกษา

13.2.5.1. ให้สามารถเริ่มดําเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษา ตามมาตรา ๕๔ วรรคสอง เพื่อให้เด็กเล็กได้รับการพัฒนาจิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาให้สมกับวัยโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย

13.2.5.2. ให้ดําเนินการตรากฎหมายเพื่อจัดตั้งกองทุนตามมาตรา ๕๔ วรรคหก ให้แล้วเสร็จ ภายในหนึ่งปีนับแต่วันประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้

13.2.5.3. ให้มีกลไกและระบบการผลิต คัดกรองและพัฒนาผู้ประกอบวิชาชีพครูและอาจารย์ ให้ได้ผู้มีจิตวิญญาณของความเป็นครู มีความรู้ความสามารถอย่างแท้จริง ได้รับค่าตอบแทนที่เหมาะสมกับ ความสามารถและประสิทธิภาพในการสอน รวมทั้งมีกลไกสร้างระบบคุณธรรมในการบริหารงานบุคคลของ ผู้ประกอบวิชาชีพครู