(Amino Acid and Protein)

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
(Amino Acid and Protein) by Mind Map: (Amino Acid and Protein)

1. กรดอะมิโน

1.1. ประเภทของกรดอะมิโน

1.1.1. Aliphatic amino acid หมายถึง เป็นกรดอะมิโนที่มี หมู่แทนที่ (-R) เป็นไฮโดรคาร์บอน และแสดงสมบัติ เป็นกลาง

1.1.2. Amino acid with hydroxyl🢣เป็นกรด อะมิโนที่มี หมู่แทนที่ (-R) มีหมู่ -OH อยู่ มี 2 ชนิด

1.1.3. Sulfur-containing amino acid 🢣เป็น กรดอะมิโนที่มี หมู่แทนที่จะมีซัลเฟอร์เป็น องค์ประกอบ อยู่ มี 2 ชนิด

1.1.4. Aromatic amino acids เป็นกรด อะมิโนที่มี หมู่แทนที่จะมีวงแหวนแอโร มาติกเป็นองค์ประกอบ อยู่ มี 3 ชนิด

1.1.5. Acidic amino acids 🢣เป็นกรดอะมิโนที่ มี หมู่แทนที่มีหมู่คาร์บอกซิลเป็น องค์ประกอบ และแสดงสมบัติเป็นกรด อยู่ มี 2 ชนิด

1.1.6. Basic amino acids 🢣เป็นกรดอะมิโนที่ มี หมู่แทนที่มีหมู่อะมิโนเป็นองค์ประกอบ และแสดงสมบัติเป็นเบส อยู่ มี 3 ชนิด

1.1.7. Amide amino acid เป็นกรดอะมิโนที่มี หมู่แทนที่มีหมู่เอไมด์เป็นองค์ประกอบ มี 2 ชนิด

1.2. โครงสร้างประกอบด้วย 1.หมู่อะมิโน (NH2) 2.หมู่คาร์บอกซิลิก (-COOH) 3.หมู่อัลคิล (-R) หรือโซ่ข้าง (side chain)

2. คุณสมบัติในการแตกตัวของกรดอะมิโน

2.1. กรดอะมิโนประกอบด้วยหมู่อะมิโนและหมู่ คาร์บอกซิลิคในโมเลกุลเดียวกัน ทำให้โปรตอน ของหมู่คาร์บอกซิลิคที่แสดงความเป็นกรดอ่อน สามารถเคลื่อนย้ายไปที่หมู่อะมิโนที่แสดงความ เป็นเบสอ่อนได้ ทำให้เกิด internal salt ได้ เมื่อ internal salt ของกรดอะมิโนอยู่ในสภาพที่ ละลายน้ำที่ pH เป็นกลางทำให้อยู่ในรูป

3. Isoelectric point

3.1. กรดอะมิโนชนิดใดก็ตามที่มีประจุบวกและประจุลบอยู่ ในสมดุลย์พอดี เรียกจุดนี้ว่า Isoelectric point (pI) และ pH ที่ทำให้เกิดสมดุลย์นี้เรียก Isoelectric pH กรด อะมิโนที่สายโซ่ด้านข้างไม่มีประจุจะมี pI อยู่ที่ pH ประมาณ 7 ซึ่งเป็นจุดที่การละลายของกรดอะมิโนจะต่ำ สุด

3.2. ถ้า pH ต่ำลง กรดอะมิโนจะละลายมากขึ้น เนื่องจาก คาร์บอกซิเลทไอออนของ zwitterion จะรับโปรตอน เข้าไป ทำให้ประจุสุทธิของกรดอะมิโนเป็นบวก

4. Protein

4.1. โปรตีนเป็นสายโพลีเปปไทด์ ที่มีกรดอะมิโนตั้งแต่ 50 หน่วย ขึ้นไปมาเชื่อมต่อกัน โดยสายของโปรตีนนี้มีการขดตัวให้อยู่ ในลักษณะที่เฉพาะ จึงจะสามารถทำงานได้ในเชิงชีวภาพ

4.2. บทบาทและหน้าที่ของโปรตีนสามารถ แบ่งออกได้ 14 ชนิด

4.2.1. Structural proteins

4.2.2. Contractile proteins

4.2.3. Catalytic proteins

4.2.4. Hormonal proteins

4.2.5. Natural-defense proteins

4.2.6. Blood proteins

4.2.7. Digestive proteins

4.2.8. Transport proteins

4.2.9. Respiratory proteins

4.2.10. Repressor proteins

4.2.11. Receptor proteins

4.2.12. Ribosomal proteins

4.2.13. Toxin proteins

4.2.14. Vision proteins

5. ระดับโครงสร้างของโปรตีน

5.1. โครงสร้างแบบเกลียวแอลฟา

5.2. โครงสร้างแบบแผ่นพลีทเบต้า

5.3. โครงสร้างตติยภูมิ

6. คุณสมบัติของโปรตีน

6.1. โปรตีนประกอบด้วยกรดอะมิโนหลายหน่วยที่เชื่อมต่อด้วยพันธะเปปไทด์ เนื่องจากโปรตีนมีกรดอะมิโนองค์ประกอบจึงทำให้มีความสามารถในการละลายในน้ำได้

6.2. ถ้า pH ของสารละลายต่ำกว่าค่า pI ของโปรตีน ผลให้โปรตีนมีประจุสุทธิเป็นบวก แต่ถ้า pH ของสารละลายสูงกว่าค่า pI ผลให้โปรตีนมีประจุสุทธิเป็นลบ จากการที่โปรตีนมีประจุทำให้โปรตีนไม่เข้ามารวมตัวเป็นกลุ่ม จึงทำให้เกิดการตกตะกอนของโปรตีน

6.3. ความสามารถในการละลายของโปรตีนดีขึ้น เรียกปรากฏการณ์นี้ว่า salting in effectไอออนของเกลือเข้าไปล้อมรอบกรดอะมิโนที่มีประจุในโปรตีน ทำให้หมู่ที่มีประจุของโปรตีนเกิดแรงกระทำกับโมเลกุลของน้ำมากขึ้นกว่าเดิมจึงทำให้โปรตีนละลายน้ำได้ดี