1. พระพุทธศานาฝึกคนไม่ให้ประมาท
1.1. ความหมาย
1.1.1. ความเป็นผู้มีสติอยู่ตลอดเวลา
1.1.2. ex.การมีสติในการกระทำ คำพูด และสติ อยู่ตลอดเวลา
1.2. วิธีปฏิบัติตนหรือหลักการ
1.2.1. ปัจฉิมโอวาธ
1.3. ประโยชน์
1.3.1. การศึกษา
1.3.1.1. ex.หากมีสติการการเรียนการศึกษา ตั้งใจฟังที่คุณครูส่งสอน ก็จะเข้าใจสิ่งนั้นอย่างแตกฉาน
1.3.2. การทำงาน
1.3.2.1. ex.ถ้ามีสติในการทำงาน ทำด้วยความรอบครอบ งานก็จะไม่เกิดความผิดพลาด
1.4. การนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
1.4.1. คิดจะทำอะไรควรมีสติ รอบครอบอยู่ตลอดเวลา มิเช่นนั้นอาจจะทำให้เกิดความเดือดร้อนขั้นได้
2. พระพุทธศาสนามุ่งประโยชน์และสันติภาพ แก่บุคคล สังคม และโลก
2.1. ความหมาย
2.1.1. คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า มี 2 ลักษณะ
2.1.1.1. ลักษณะทีเป็นคำสั่ง
2.1.1.1.1. หมายถึง ข้อห้ามไม่ให้ทำ เรียนว่า วินัยหรือศีล
2.1.1.2. ลักษณะที่เป็นคำสอน
2.1.1.2.1. หมายถึง คำแนะนำให้กระทำหรือให้เว้นที่เรียกว่า ธรม
2.2. วิธีปฏิบัตืตนหรือหลักการ
2.2.1. ทิฏฐธัมมิกัตถะ
2.2.2. สัมปรายิกัตถะ
2.2.3. ประมัตถะ
2.3. ประโยชน์
2.3.1. สังคหวัตถุ
2.3.2. พรหมวิหาร 4
2.4. การนำไปใช้ในชัวิตประจำวัน
2.4.1. การที่จะช่วยเหลือผู้อื่นอย่างเต็มใจ ประพฤติปฏิบัติที่เป็นประโยชน์ต่อกันอย่างเต็มใจ การวางใจเป็นกลางไม่ลำเอียง
3. พระพุทธศาสนากับเศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาแบบยังยืน
3.1. ความหมาย
3.1.1. ศรษฐกิจที่พึ่งตนเองได้ เน้นการผลิตและการบริโภคแบบพออยู่พอกิน
3.2. วิธีปฏิบัติหรือหลักการ
3.2.1. โภควิาค 4
3.3. ประโยชน์
3.3.1. ความสงบสุขของผู้คนในสังคม ประชาชนมีกินมีใช้อย่างเพียงพอแก่ความต้องการ ที่สำคัญต้องไม่ทำตนและผู้อื่นเดือนร้อน
3.4. การนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
3.4.1. การใช้แบบประหยัด รู้จักอดออม ไม่ฟุ่มเฟีอย
4. พระพุทธศานาเน้นความสำพันธ์ของเหตุปัจจัยและวิธีการแก้ปัญหา
4.1. ความหมาย
4.1.1. สีสันสวยงาม
4.1.2. มีการจัดวางที่ดี
4.2. วิธีปฏิบัติตนหรือหลักการ
4.2.1. ไม่สามารถลบได้ ผิดแล้วผิดเลย
4.3. ประโยชน์
4.4. การนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
5. พระพุทธศาสนาเป็นศาสตร์แห่งการศึกษา
5.1. ความหมาย
5.1.1. เพื่อให้มนุษย์เป็นคนเก่งและคนดี มิใช่คนดีแต่โง่หรือคนเก่งแต่โง่
5.2. การปฏิบัติตนหรือหลักการ
5.2.1. ไตรสิขา
5.2.2. สีลสิกขา
5.2.3. จิตตสิกขา
5.2.4. ปัญญาสิกขา