กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

登録は簡単!. 無料です
または 登録 あなたのEメールアドレスで登録
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย により Mind Map: กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

1. มาตรฐาน ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน

1.1. สาระที่1 การอ่าน

1.1.1. สาระการเรียนรู้

1.1.1.1. 1.) การออกเสียงและการบอกความหมายของบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองที่ประกอบด้วย 1.คำที่มีพยัญชนะควบ 2.คำที่มีอักษรนำ 3.คำที่มีตัวการันต์ 4.อักษรย่อและเครื่องหมายวรรคตอน 5.ข้อความที่เป็นการบรรยาย และพรรณนาข้อความที่มีความหมายโดยนัย 2.) การอ่านบทร้อยกรองเป็นทำนองเสนาะ

1.1.1.1.1. ตัวชี้วัด

1.1.1.2. การอ่านจับใจความจากสื่อต่างๆ เช่น 1.วรรณคดีในบทเรียน 2.บทความ 3.บทโฆษณา 4.งานเขียนประเภทโน้มน้าวใจ 5.ข่าวและเหตุการณ์ประจำวัน

1.1.1.2.1. ตัวชี้วัด

1.1.1.3. การอ่านงานเขียนเชิงอธิบาย คําสั่ง ข้อแนะนำ และปฏิบัติตาม เช่น 1.การใช้พจนานุกรม 2.การใช้วัสดุอุปกรณ์ 3.การอ่านฉลากยา 4.คู่มือและเอกสารของโรงเรียนที่เกี่ยวข้องกับนักเรียน 5.ข่าวสารทางราชการ

1.1.1.3.1. ตัวชี้วัด

1.1.1.4. การอ่านหนังสือตามความสนใจ เช่น 1.หนังสือที่นักเรียนสนใจและเหมาะสมกับวัย 2.หนังสือที่ครูและนักเรียนกำหนดร่วมกัน

1.1.1.4.1. ตัวชี้วัด

1.1.1.5. มารยาทในการอ่าน

1.1.1.5.1. ตัวชี้วัด

2. ป.6

2.1. มาตรฐาน ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน

2.1.1. สาระที่1 การอ่าน

2.1.1.1. สาระการเรียนรู้

2.1.1.1.1. 1.) การอ่านออกเสียงและการบอกความหมายของบทร้อยแก้ว และบทร้อยกรอง ประกอบด้วย 1.คำที่มีพยัญชนะควบกล้ำ 2.คำที่มีอักษรนำ 3.คำที่มีตัวการันต์ 4.คำที่มาจากภาษาต่างประเทศ 5. อักษรย่อและเครื่องหมายวรรคตอน 6.วันเดือนปีแบบไทย 7.ข้อความที่เป็นโวหารต่างๆ 8.สํานวนเปรียบเทียบ 2.) การอ่านบทร้อยกรองเป็นทำนองเสนาะ

2.1.1.1.2. 1.) การอ่านจับใจความจากสื่อต่างๆ เช่น 1.เรื่องสั้นๆ 2.นิทานและเพลงพื้นบ้าน 3.บทความ 4.พระบรมราโชวาท 5.สารคดี 6.เรื่องสั้น 7.งานเขียนประเภทโน้มน้าว 8.บทโฆษณา 9.ข่าว และเหตุการณ์สำคัญ 2.) การอ่านเร็ว

2.1.1.1.3. การอ่านงานเขียนเชิงอธิบาย คําสั่ง ข้อแนะนำ และปฏิบัติตาม 1.การใช้พจนานุกรม 2.การปฏิบัติตนในการอยู่ร่วมกันในสังคม 3.ข้อตกลงในการอยู่ร่วมกันในโรงเรียน และการใช้สถานที่สาธารณะในชุมชนและท้องถิ่น

2.1.1.1.4. การอ่านข้อมูลจากแผนผัง แผนที่ แผนภูมิ และกราฟ

2.1.1.1.5. การอ่านหนังสือตามความสนใจ เช่น 1.หนังสือที่นักเรียนสนใจและเหมาะสมกับวัย 2.หนังสืออ่านที่ครูและนักเรียนกำหนดร่วมกัน

2.1.1.1.6. มารยาทในการอ่าน

2.2. มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ

2.2.1. สาระที่2 การเขียน

2.2.1.1. สาระการเรียนรู้

2.2.1.1.1. การคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด ตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย

2.2.1.1.2. การเขียนสื่อสาร เช่น 1.คำขวัญ 2.คำอวยพร 3.ประกาศ

2.2.1.1.3. การเขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิด

2.2.1.1.4. การเขียนเรียงความ

2.2.1.1.5. การเขียนย่อความจากสื่อต่างๆ เช่น นิทาน ความเรียงประเภทต่างๆ ประกาศ แจ้งความ แถลงการณ์ จดหมาย คำสอน โอวาท คำปราศรัย สุนทรพจน์ รายงาน ระเบียบ คำสั่ง

2.2.1.1.6. การเขียนจดหมายส่วนตัว 1.จดหมายขอโทษ 2.จดหมายแสดงความขอบคุณ 3.จดหมายแสดงความเห็นใจ 4.จดหมายแสดงความยินดี

2.2.1.1.7. การกรอกแบบรายการ 1.แบบคำร้องต่างๆ 2.ใบสมัครศึกษาต่อ 3.แบบฝากส่งพัสดุและไปรษณียภัณฑ์

2.2.1.1.8. การเขียนเรื่องตามจินตนาการและสร้างสรรค์

2.2.1.1.9. มารยาทในการเขียน

2.3. มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และความรู้สึกในโอกาสต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์

2.3.1. สาระที่3 การฟัง การดู และการพูด

2.3.1.1. สาระการเรียนรู้

2.3.1.1.1. การพูดแสดงความรู้ความเข้าใจ ในจุดประสงค์ของเรื่องที่ฟังและดูจากสื่อต่างๆ ได้แก่ 1.สื่อสิ่งพิมพ์ 2.สื่ออิเล็กทรอนิกส์

2.3.1.1.2. การวิเคราะห์ความน่าเชื่อถือ จากการฟังและดูสื่อโฆษณา

2.3.1.1.3. การรายงาน เช่น 1.การพูดลำดับขั้นตอนการปฏิบัติงาน 2.การพูดลำดับเหตุการณ์

2.3.1.1.4. การพูดโน้มน้าวในสถานการณ์ต่างๆ เช่น 1.การเลือกตั้งกรรมการนักเรียน 2.การรณรงค์ด้านต่างๆ 3.การโต้วาที

2.3.1.1.5. มารยาทในการฟังการดูและการพูด

2.4. มาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ

2.4.1. สาระที่4 หลักการใช้ภาษา

2.4.1.1. สาระการเรียนรู้

2.4.1.1.1. ชนิดและหน้าที่ของคำ 1.คำนาม 2.คำสรรพนาม 3.คำกริยา 4.คำวิเศษณ์ 5.คําบุพบท 6.คำเชื่อม 7.คำอุทาน

2.4.1.1.2. 1.) คําราชาศัพท์ 2.) ระดับภาษา 3.) ภาษาถิ่น

2.4.1.1.3. คําที่มาจากภาษาต่างประเทศ

2.4.1.1.4. 1.) กลุ่มคําหรือวลี 2.) ประโยคสามัญ 3.) ประโยครวม 4.) ประโยคซ้อน

2.4.1.1.5. กลอนสุภาพ

2.4.1.1.6. สำนวนที่เป็นคำพังเพยและสุภาษิต

2.5. มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดี และวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่า และนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง

2.5.1. สาระที่5 วรรณคีและวรรณกรรม

2.5.1.1. สาระการเรียนรู้

2.5.1.1.1. วรรณคดีและวรรณกรรม เช่น 1.นิทานพื้นบ้านท้องถิ่นตนเองและท้องถิ่นอื่น 2.นิทานคติธรรม 3.เพลงพื้นบ้าน 4.วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรียนและทำความสนใจ

2.5.1.1.2. บทอาขยานและบทร้อยกรองที่มีคุณค่า 1.บทอาขยานที่กำหนด 2.บทร้อยกรองตามความสนใจ