ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ
by Netchanok Hakaew
1. (1.) การจำแนกตามลักษณะของข้อมูลแบ่งได้ เป็น 2 ปะเภท 1. ข้อมูลเชิงคุณภาพเป็นข้อมูลที่ไม่สามารถระบุค่าเป็นตัวเลขได้ เช่น นามบัญญัติ, เรียงลำดับ 2. ข้อมูลเชิงปริมาณเป็นข้อมูลที่วัดค่าออกมาป็นตัวเลขได้มีความต่อเนื่องและไม่มีความต่อเนื่อง เช่น อันตรภาคและอัตรส่วน (2.) จำแนกตามแหล่งที่มาของข้อมูลแบ่งเป็น 2 ประเภท 2.1 ข้อมูลปฐมภูมิเป็นข้อมูลที่เก็บจากแหล่งข้อมูลโดยตรง เช่น ข้อมูลจาการสัมภาษณ์ การสังเกต การทดลอง การทดสอบ ข้อมูลการเข้าชั้นเรียนของนักเรียนเเต่ละภาคการศึกษา ซึ่งเก็บข้อมูลด้วยวิธีเช็คชื่อเข้าเรียน เป็นต้น 2.2 ข้อมูลทุติยภูมิเป็นข้อมูลที่ได้จากแหล่งที่มีผู้เก็บรวบรวมไว้แล้ว เช่น ข้อมูลสำมะโนประชากร สามารถอ้างอิงได้จากสำนักงานสถิติแห่งชาติ ข้อมูลปริมาณน้ำฝนจากกรมชลประทาน ข้อมูลทางสถิติต่างๆ ที่มีการบันทึกไว้แล้ว ข้อมูลจากรายงานการวิจัย และบันทึกการนิเทศ (3.) จำแนกตามมาตราวัด 3.1 มาตรานามบัญญัติเป็นมาตราวัดระดับสูงสุดต่ำคุณสุดสัญลักษณ์ หรือตัวเลขไม่มีความสามารถหมายในห้างหุ้นส่วนจำกัดเชิงปริมาณเป็นเพียงหัวเรื่อง: การจำแนกออกประเภทเท่านั้น 3.2 มาตราเรียงลำดับเป็นมาตราวัดที่จำแนกข้อมูลออกเป็น กลุ่มโดยเป็นการเรียงลำดับสิ่งต่างๆตามลักษณะคุณหนึ่ง ๆ 3.3 มาตราความแตกต่างต่างประเทศ กันได้อย่างชัดเจนค่าที่ได้จากการวัดสามารถนำมาบวกลบกันได้ แต่นำมาคูณหรือหารไม่ได้ 3.4 จำนวนเงินที่เป็นศูนย์ของแท้ซึ่ง หมายถึง0 หมายถึงไม่มีอะไร ลบคูณหารได้
2. ขอบข่ายของระเบียบวิธีทางสถิติ จะเกี่ยวข้องกับการดำเนินงานใน 4 ขั้นตอนหลัก คือ (1.) การเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อนำมา วิเคราะห์ ซึ่งอาจจะประกอบด้วยข้อมูลปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และเป็นข้อมูลทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ (2.) การเก็บรวบรวมข้อมูลสามารถเก็บได้จากการเก็บรวบรวมข้อมูลจากงานทะเบียนหรือการบันทึก (3.) การเก็บรวบรวมข้อมูลจากการสำรวจได้แก่ 3.1 การสำมะโน เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลจากทุกๆหน่วยในประชากรที่ทำการศึกษา 3.2 การสำรวจตัวอย่าง เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลจากพียงบางหน่วยของประชากร เพื่อที่จะได้ตัวแทนที่ดีของประชากร เป็นการประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย (4.) การเก็บรวบรวมข้อมูลจากการทดลอง วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลสามารถทำได้ หลายวิธี เช่น การสัมภาษณ์ การส่งไปรษณีย์ การตอบแบบสอบถาม โทรศัพท์การชั่ง ตวง วัด นับ การสังเกต
3. 6. เทคนิคการสุ่มตัวอย่าง 6.1 การสุ่มตัวอย่างโดยไม่ใช้ความน่าจะเป็น เป็นการเลือกตัวอย่างโดยยึดความสะดวก หรือความเป็นไปได้ของสิ่งแวดล้อม 6.2 การสุ่มตัวอย่างโดยใช้ความน่าจะเป็น คือ การที่ ทุกหน่วยของประชากรมีโอกาสได้รับเลือกขึ้นมาเป็นตัวอย่างเท่ากันหมด 6.3 การสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย เป็นวิธีการเลือกตัวอย่างที่ง่ายที่สุดโดยให้แต่ละหน่วยในประชากรมีโอกาสได้รับเลือกเป็นตัวอย่างเท่าๆ กัน 6.4 การสุ่มตัวอย่างแบบมีระบบ 6.5 การสุ่มตัวอย่างแบบชั้น ภูมิเป็นการสุ่ม ตัวอย่างโดยการแบ่งสมาชิกในประชากรออกเป็นประชากรย่อยอย่างน้อย 2 กลุ่มประชากรย่อย เรียกว่าแบ่งประชากรออกเป็นชั้น 6.6 การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่ม เป็นการสุ่มตัวอย่างโดยทำการแบ่งประชากรออกเป็นกลุ่ม
4. 1.ความหมายของสถิติ
5. 7.ขั้นตอนการดำเนินงานทางสถิติ
6. 6. เทคนิคการสุ่มตัวอย่าง
7. 5.ประเภทข้อมูล
8. - ด้านธุรกิจ ต้องมีแหล่งข้อมูลพื้นฐานการพยากรณ์ทั้งภายในองค์กรเพื่อใช้ในการวางแผนระยะสั้น - ด้านเศรษฐศาสตร์ ต้องใช้เทคนิควิธีการทางสถิติทฤษฎีการมาตัดสินใจช่วย - ด้านการศึกษาสถิติการศึกษามีความสำคัญต่อการกำหนดนโยบายและวางแผน - ด้านวิทยาศาสตร์ใช้สถิติในงานวิเคราะห์และวิจัย - ด้านอุตสาหกรรมผลิตสินค้าเพื่อบริโภคภายในประเทศ - ด้านสาธารณสุข การพัฒนาคุณภาพชีวิตให้มีสุขภาพที่ดีหน่วยงานพนักงานของรัฐ เอกชนเป็นและ จำเป็นคุณต้องใช้ข้อมูลสถิติสาธารณสุข - ด้านการเมืองการปกครองใช้ในการสำรวจประชามติ ทำให้ทราบถึงสภาพความสามารถเป็นจริงสะท้อนให้เห็นถึงความสามารถต้องการของสังคม
9. -ประชากร คือ หน่วยทุกหน่วยที่เราสนใจที่จะทำการศึกษา เช่น คน สัตว์ สิ่งของ -ตัวอย่าง คือ หน่วยย่อยของประชากรที่จะให้ข้อเท็จจริงต่างๆที่เราสนใจศึกษา -ค่าสถิติ คือ ค่าที่คำนวณได้จากข้อมูลที่เป็นตัวอย่าง เป็นตัวบ่งชี้ถึงลักษณะของตัวอย่าง
10. คือ ตัวเลขหรือข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่องต่างๆที่รวบรวมได้หรือศาสตร์ที่ว่าด้วยวิธีการที่ใช้ในการศึกษาข้อมูล ศาสตร์ที่ว่าด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูล การนำเสนอข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลและตีความหมาย
11. แบ่งออกได้เป็น2ประเภท (2.1) สถิติพรรณนา คือ วิธีการทางสถิติที่เกี่ยวกับการเก็บรวบรวมข้อมูล เช่น ความถี่, อายุ, รายได้ฯลฯ (2.2) สถิติอนุมาน หรือ สถิติอ้างอิง คือ วิธีการทางสถิติที่เกี่ยวข้องกับข้อเท็จจริงที่รวบรวมมาได้ ไม่อธิบายทั้งหมดแต่จะเอาสิ่งที่เราสนใจมาสรุปและนำเสนอ
12. 2. ขอบเขตและเนื้อหาสถิติ
13. 3.นิยามศัพท์ที่เกี่ยวข้อง
14. 4.บทบาทของสถิติสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในงานด้านต่างๆดังนี้