ที่ปรึกษาและข้าราชการต่างชาติในสมัยรัชกาลที่ 5

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ที่ปรึกษาและข้าราชการต่างชาติในสมัยรัชกาลที่ 5 by Mind Map: ที่ปรึกษาและข้าราชการต่างชาติในสมัยรัชกาลที่ 5

1. กรมป่าไม้

2. ประเภทของข้าราชการต่างชาติ

2.1. ที่ปรึกษาประจำกระทรางและกรมต่างๆ

2.1.1. กระทรวงการคลัง

2.1.1.1. ที่ปรึกษากระทรวงการคลังมีความสำคัญมาก

2.1.1.1.1. นายมิตเซลล์ อินเนส

2.1.1.1.2. นายริเวตต์ คาร์แนก

2.1.1.1.3. นายปีเรตัน

2.1.1.2. ผู้ที่ฝ่ายไทยยอมรับว่ามีความสำคัญต่อการปฏิรูปการคลังของไทย

2.1.2. กระทรวงการต่างประเทศ

2.1.2.1. หน้าที่

2.1.2.1.1. ให้คำแนะนำ ข้อได้เปรียบเสียเปรียบในการเจรจากับต่างประเทศ

2.1.2.1.2. ร่างจดหมายโต้ตอบของกระทรวงในการติดต่อกับต่างประเทศ

2.1.2.2. มีการยกเลิกตำแหน่งในรัชกาลต่อมา

2.1.3. กระทรวงยุติธรรม

2.1.3.1. ใช้ประโยชน์จากข้าราชการต่างชาติ

2.1.4. กระทรวงเกษตรราธิการ

2.1.4.1. ที่ปรึกาา คือ นายเกรแฮม

2.1.5. กระทรวงศึกษาธิการ

2.1.5.1. ที่ปรึกษา คือ นายดับบลิว.บี.จอห์นสัน

2.2. ที่ปรึกษาราชการทั่วไป

2.2.1. หน้าที่

2.2.1.1. เกี่ยวข้องใกล้ชิดสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

2.2.1.2. ประสานความรู้การดำเนินงานกับเสนาบดีกระทราวงต่างๆ

2.2.2. ผู้ที่่ดำรงตำแหน่งนี้มีทั้งหมด 3 คน

2.2.2.1. นายโรลัง ยัคมินส์

2.2.2.2. นายเอ็ดเวิร์ด สโตรเบล

2.2.2.3. นายเจนส์ ไอเวอร์สัน เวสเดนการ์ด

2.3. ข้าราชการต่างชาติประจำกรมกองต่างๆ

2.3.1. หน่วยงานในสังกัดกระทรวงการคลัง (ข้าราชกาลทั้งหมดเป็นชาวอังกฤษ)

2.3.1.1. กรมศุลกากร

2.3.1.2. กรมสรรพากร

2.3.1.3. กรมสรรพภาษี

2.3.1.4. กรมอาการที่ดิน

2.3.2. หน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตราธิการ

2.3.2.1. หน่วยงานในสังกัดกระทรวงการคลัง

2.3.2.1.1. มีกรมเป็นชาวต่างชาติ

2.3.2.2. ชาวอังกฤษ

2.3.2.2.1. กรมทะเบียนที่ดิน

2.3.2.3. ชาวญี่ปุ่น

2.3.2.3.1. กรมช่างไหม

2.3.2.4. ชาวเนเธอร์แลนด์

2.3.2.4.1. กรมช่างไหม

2.3.3. หน่วยงานในสังกัดกระทรวงโยธาธิการ

2.3.3.1. เจ้ากรมเป็นชาวเยอรมัน

2.3.3.1.1. กรมรถไฟ

2.3.3.2. ชาวอังกฤษและอินตาเลียน

2.3.3.2.1. กองทหารบก

2.3.3.3. มีหลายเชื้อชาติ

2.3.3.3.1. กรมโยธาธิการ

2.3.4. หน่วยงานในสังกัดกระทรวงกลาโหม

2.3.4.1. ชาวเดนมาร์ก

2.3.4.1.1. กองทหารเรือ

2.3.4.2. ทำหน้าที่วางระเบียบสูตรการศึกษา

2.3.5. หน่วยงานในสังกัดกระทรวงนครบาล

2.3.5.1. เกี่ยวกับชาวต่างชาติ

2.3.5.1.1. กรมกองตระเวน

3. ทำให้ชาวต่างชาติที่มีความสามารถเกิดความท้อแท้เบื่อหน่าย

4. ปัญหาและอุปสรรค

4.1. ปัญหาจากฝ่ายไทย

4.1.1. ปัญหาจากผู้บริหาร

4.1.1.1. ผํ้บังคับบัญชาใช้อำนาจในการพิจารณาความดีความชอบหรือตัดสินลงโทษผู้ใต้บังคับบัญชาโดยอาศัยระบบอุปถัมภ์

4.1.1.1.1. จึงเกิดภาวะความขัดแย้งหับข้าราชการต่างประเทศ

4.1.2. ผู้บริหารไทยบางคนเป็นพวกอนุรักษ์นิยม

4.1.2.1. ไม่พอใจและไม่สามารถสื่อสารกับข้าราชการชาวต่างชาติในหน่วยงานของตนได้

4.1.2.1.1. เกิดความขัดแย้งในการปฏบัติระหว่างกันอยู่เสมอ

4.1.2.1.2. เกิดความไม่เข้าใจและหวาดเกรงการทำงานกับชาวต่างชาติ

4.1.2.1.3. ส่งผลให้ภาพรวมถึงความเสียหายของประเทศชาติ

4.1.3. ปัญหานโยบายรัฐ

4.1.3.1. นโยบายจำกัดขอบเขตของข้าราชกาลต่างชาติ

4.1.3.1.1. มีตำแหน่งสูงสุดเพียงแค่ระดับเจ้ากรมและที่ปรึกษา

4.2. ปัญหาจากต่างชาติ

4.2.1. ปัญหาแสวงหาผลประโยชน์ของข้าราชการต่างชาติ

4.2.1.1. ชาวต่างชาติที่เข้ามารับราชการส่วนใหญ่ล้วนมีจุดมุ่งหมายเพื่อการแสวงหา

4.2.1.1.1. รับราชการระยะสั้น

4.2.1.1.2. รับราชการระยะยาว

4.3. มูลเหตุการว่าจ้างชาวต่างชาติ

4.3.1. นโยบายสำคัญของสยามสมัยร.5

4.3.1.1. จ้างชาวต่างชาติที่มีความเชี่ยวชาญเข้ารับราชการ ในรดับที่ปรึกษาแลพข้าราชการประจำหน่วยงาน

4.3.1.1.1. หน้าที่

4.3.1.2. การส่งเสริมเสถียรภาพของบ้านเมืองเพื่อรักษาเอกราชของชาติให้รอดพ้นจากลัทธิจักวรรดินิยม

5. นโยบายการว่าจ้างชาวต่างชาติ

5.1. พระราโชบายของร.5

5.1.1. คัดเลือกชาวต่างชาติเข้ารับราชการ

5.1.1.1. รัฐบาลเป็นผู้ชี้ขาดในการดำรงตำแหน่ง

5.1.1.2. การคัดเลือกแต่ละครั้งจึงแสดงถึงนโยบายต่างประเทศอันฉลาดหลักแหลมของสยาม

5.1.1.2.1. จ้างชาวฝรั่งเศส

5.1.1.2.2. จ้างชาวเยอรมัน

5.1.1.2.3. จ้างชาวอเมริกัน

5.1.1.2.4. จ้างชาวอังกฤษ