
1. นวัตกรรมและเทคโนโลยีสมัยใหม่
1.1. ปัญญาประดิษฐ์
1.1.1. แนวคิดด้านปัญญาประดิษฐ์
1.1.1.1. การรับรู้
1.1.1.2. การแทนความรู้และการใช้เหตุผล
1.1.1.3. การเรียนรู้
1.1.1.4. การปฏิสัมพันธ์อย่างเป็นธรรมชาติ
1.1.1.5. ผลกระทบทางสังคม
1.1.2. นวัตกรรมที่ใช้ปัญญาประดิษฐ์
1.2. การประมวลผลแบบคลาวด์ คือ เป็นรูปการให้บริการทรัพยากรคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
1.3. อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง
1.3.1. ความสำคัญของอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง
1.3.2. สถาปัตยกรรมอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง
1.3.2.1. สมองกลฝังตัวและเซนเซอร์
1.3.2.2. เกตเวย์และเครือข่าย
1.3.2.3. ส่วนสนับสนุนการบริการ
1.3.2.4. แอปพลิเคชั่น
1.4. เทคโนโลยีเหมือนสมอง คือ เทคโนโลยีที่จำลองผ่านระบบเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
1.4.1. หลักการทำงานของความเป็นจริงเสริม
1.4.1.1. ความเป็นจริงเสริมหรือ AR
1.4.1.1.1. ด้านการศึกษา
1.4.1.1.2. ด้านการท่องเที่ยว
1.4.1.1.3. ด้านความบันเทิง
1.4.1.2. การใช้งานความเป็นจริงเสมือน VR
1.4.1.2.1. ซอฟต์แวร์ที่สร้างภาพแวดล้อมเสมือนจริง
1.4.1.2.2. ฮาร์ดแวร์ที่ช่วยทำให้ผู้ใช้สามารถโต้ตอบกับโลกเสมือน
2. อาชีพในยุคดิจิทัล
2.1. อาชีพด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
2.1.1. แบ่งเป็น 3 กลุ่ม
2.1.1.1. กลุ่มอาชีพที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการพัฒนาและสร้างชิ้นงานท่งเทคโนโลยีสารสนเทศ
2.1.1.1.1. ผู้เชี่ยวชาญด้านเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.1.1.1.2. ผู้เชี่ยวชาญด้านความมั่นคงปลอดภัย
2.1.1.1.3. นักวิทยาศาสตร์ข้อมูล
2.1.1.1.4. โปรแกรมเมอร์
2.1.1.1.5. นักทดสอบ
2.1.1.1.6. นักวิเคราะห์ระบบ
2.1.1.1.7. นักวิเคราะห์ทอสอบระบบ
2.1.1.2. กลุ่มเกี่ยวข้องกับการดูแลรักษาระบบสารสน้ทศ
2.1.1.2.1. ผู้ดูแลระบบ
2.1.1.2.2. เจ้าหน้าที่ฝึกอบรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
2.1.1.3. กลุ่มบริหารด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
2.1.1.3.1. ผู้จัดการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
2.1.1.3.2. ผู้ดูแลระบบฐานข้อมูล
2.1.1.3.3. เจ้าหน้าที่สนับสนุนงานเชิงเทคนิค
2.1.1.3.4. ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง หรือซีไอโอ
2.1.1.4. การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีกับสังคมและอาชีพ
2.1.1.4.1. คือ ถูกพัฒนาขึ้นอย่างรวดเร็วและตลอดเวลา
2.2. ผลกระทบของเทคโนโลยีกับอาชีพ
2.2.1. น่าเบื่อ ซ้ำซาก
2.2.2. ทำเงินได้ดี
2.2.3. สกปรก
2.2.4. อันตราย
2.3. การทำงานร่วมกับเครื่องจักรและระบบอัตโนมัติ
2.3.1. ผู้ฝึกสอน
2.3.2. ผู้อธิบาย
2.3.3. ผู้ดูแลรักษา
3. การแบ่งปันข้อมูล
3.1. องค์ประกอบและรูปแบบพื้นฐานในการสื่อสาร
3.1.1. ผู้ส่ง
3.1.1.1. ส่งสารไปยังผู้รับ
3.1.2. สาร
3.1.2.1. เป็นข้อมูล
3.1.3. ช่องทาง
3.1.3.1. การใช้โทรศัพท์
3.1.4. ผู้รับ
3.1.4.1. แปลความหมายของสารที่ผู้ส่งนำเสนอ
3.2. เทคนิคและวิธีการแบ่งปันข้อมูล
3.2.1. การเขียนบล็อก คือ เว็บ-ล็อก เป็นการเขียนบทความ
3.2.1.1. การวางแผน
3.2.1.1.1. กำหนดเรื่องที่จะเขียน
3.2.1.1.2. วางเค้าโครงเรื่อง
3.2.1.2. ค้นคว้า
3.2.1.3. ตรวจสอบข้อมูล
3.2.1.4. การเขียนคำโปรย
3.2.1.5. การเขียน
3.2.1.6. การใช้ภาพประกอบ
3.2.1.7. การตรวจทานแก้ไข
3.2.2. การทำแฟ้มผลงาน คือ เป็นเอกสารในการรวบรวมหลักฐานที่แสดงถึงความสามารถและผลงานของบุคคล
3.2.2.1. รวบรวมผลงสน
3.2.2.2. จัดหมวดหมู่
3.2.2.3. คัดเลือกผลงาน
3.2.2.4. จัดลำดับความน่าสนใจ
3.2.2.5. ร้อยเรียงเรื่องราวให้น่าสนใจ
3.2.2.6. ตรวจทาน
3.3. ข้อควรระวังในการแบ่งปันข้อมูล
3.3.1. ไม่มีความลับในสังคมออนไลน์
3.3.2. ข้อมูลบางชนิดไม่ควรเปิดเผย
3.3.3. ข้อมูลบางชนิดอาจนำมาใช้หลอกหลวง
3.3.4. การรักษาข้อมูลที่ได้รับการปกป้องตามกฎหมาย
4. พลเมืองดิจิทัล
4.1. การเป็นพลเมืองดิจิทัล
4.1.1. การรู้ดิจิทัล
4.1.2. การมีทักษะทางการสื่อสาร
4.1.3. การซื้อขายสินค้าออนไลน์
4.2. การป้องกันตนเองและผู้อื่น
4.2.1. ความเป็นส่วนตัว
4.2.2. สิทธิและคว่มรับผิดชอบ
4.2.3. สุขภาพกับการใช้เทคโนโลยี
4.3. กฎหมายและมารบาทในสังคมดิจิทัล
4.3.1. การเข้าถึงและการร่วมตัดสินใจ
4.3.2. เสรีภาพในการแสดงออก
4.3.3. กฎหมายดิจิทัล