วิเคราะห์ปรัชญาการศึกษา และเอกสารสำคัญที่เกี่ยวกับการศึกษา

ส่งงาน ใบงานที่ 3 กิจกรรมนอกชั้นเรียน เรื่อง วิเคราะห์ปรัชญาการศึกษา และเอกสารสำคัญที่เกี่ยวกับการศึกษา โดย นางสาวสมฤดี เขียวน้อย รหัส 6546702018 นางสาวรภัทภร สมคิด รหัส 6546702029

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
วิเคราะห์ปรัชญาการศึกษา และเอกสารสำคัญที่เกี่ยวกับการศึกษา by Mind Map: วิเคราะห์ปรัชญาการศึกษา และเอกสารสำคัญที่เกี่ยวกับการศึกษา

1. แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๗๙

1.1. วิสัยทัศน์ จุดมุ่งหมาย เป้าหมาย ตัวชี้วัด และยุทธศาสตร์ของแผนการศึกษาแห่งชาติ

1.1.1. “คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ดำรงชีวิตอย่างเป็นสุข สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษที่ ๒๑”

1.2. วัตถุประสงค์ในการจัดการศึกษา ๔ ประการ คือ

1.3. ยุทธศาสตร์ในการพัฒนาการศึกษาภายใต้ ๖ ยุทธศาสต์

1.3.1. ยุทธศาสตร์ที่ ๑ : การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ ยุทธศาสตร์ที่ ๒ : การผลิตและพัฒนากำลังคนการวิจัย และนวัตกรรรม เพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ยุทธศาสตร์ที่ ๓ : การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัยและการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ยุทธศาสตร์ที่ ๔ : การสร้างโอกาสความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา ยุทธศาสตร์ที่ ๕ : การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ที่ ๖ : การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา

2. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐

2.1. หมวด ๔ หน้าที่ของปวงชนชาวไทย (นิรันตรนิยม)

2.1.1. มาตรา ๕๐ วรรค ๔ เข้ารับการศึกษาอบรมในการศึกษาภาคบังคับ

2.2. หมวด ๕ หน้าที่ของรัฐ (พิพัฒนาการนิยม)

2.2.1. มาตรา ๕๔ รัฐต้องดำเนินการให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษาเป็นเวลา ๑๒ ปี ตั้งแต่วัยก่อนเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับอย่างมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย

2.3. มาตรา ๒๕๘ ให้ดำเนินการปฏิรูปประเทศอย่างน้อยในด้านต่างๆ ให้เกิดผลด้านการศึกษา (สารัตถนิยม)

2.3.1. (๑) ให้สามารถเริ่มดำเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษาตามมาตรา ๕๔ วรรคสอง เพื่อให้เด็กเล็กได้รับการพัฒนาร่างกายจิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาให้สมกับวัยโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย

2.3.2. (๒) ให้ดำเนินการตรากฎหมายเพื่อจัดตั้งกองทุนตามมาตรา๕๔ วรรคหก ให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งปีนับแต่วันประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้

2.3.3. (๓) ให้มีกลไกและระบบการผลิต คัดกรอง และพัฒนาผู้ประกอบวิชาชีพครูและอาจารย์ให้ได้ผู้มีจิตวิญญาณของความเป็นครูมีความรู้ความสามารถอย่างแท้จริง ได้รับค่าตอบแทนที่เหมาะสมกับความสามารถและประสิทธิภาพในการสอน รวมทั้งมีกลไกสร้างระบบคุณธรรมในการบริหารงานบุคคลของผู้ประกอบวิชาชีพครู

2.3.4. (๔) ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนทุกระดับเพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้ตามความถนัด และปรับปรุงโครงสร้างของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อบรรลุเป้าหมายดังกล่าว โดยสอดคล้องกันทั้งในระดับชาติและระดับพื้นที่

3. ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐)

3.1. ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี

3.1.1. ยุทธศาสตร์ที่ ๑ การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ (สารัตถนิยม)

3.1.1.1. ๑. พัฒนาและเสริมสร้างความจงรักภักดีต่อสถาบันหลักของชาติ

3.1.1.2. ๒. การป้องกันและแก้ไขปัญหาที่มีผลกระทบต่อความมั่นคงอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

3.1.2. ยุทธศาสตร์ที่ ๒ การผลิตและพัฒนากำลังคนการวิจัยและนวัตกรรม เพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (พิพัฒนาการนิยมและปฏิรูปนิยม)

3.1.2.1. ๑. พัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีใหม่มาปรับใช้

3.1.2.2. ๒.การสร้างผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรแนวใหม่

3.1.2.3. ๓. อุตสาหกรรมและบริการดิจิทัลข้อมูลและปัญญาประดิษฐ์

3.1.2.4. ๔. โลจิสติกส์

3.1.2.5. ๕. สุขภาพ ความงามและแพทย์แผนไทย

3.1.2.6. ๖. ท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์และวัฒนธรรม

3.1.3. ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัยและการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ (ปฏิรูปนิยม)

3.1.3.1. ๑. ค่านิยมและวัฒนธรรม

3.1.3.2. ๒. การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต

3.1.3.3. ๓. การตระหนักถึงพหุปัญญาของมนุษย์ที่หลากหลาย

3.1.3.4. ๔. การปลูกฝังและพัฒนาทักษะนอกห้องเรียน

3.1.3.5. ๕. การเสริมสร้างให้คนไทยมีสุขภาวะที่ดี

3.1.3.6. ๖. การเสริมสร้างศักยภาพการกีฬาในการสร้างคุณค่าทางสังคมและพัฒนาประเทศ

3.1.4. ยุทธศาสตร์ที่ ๔ การสร้างโอกาส ความเสมอภาคและความเท่าเทียมทางการศึกษา (อัตถิภาวนิยม)

3.1.4.1. ๑. การลดความเหลื่อมล้ำสร้างความเป็นธรรม

3.1.4.2. ๒. การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสร้างสรรค์เพื่อรองรับสังคมยุคดิจิทัล

3.1.5. ยุทธศาสตร์ที่ ๕ การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (พุทธปรัชญา)

3.1.5.1. ๑. ระบบนิเวศ และปริมาณก๊าซเรือนกระจก

3.1.5.2. ๒. โรคอุบัติใหม่โรคอุบัติซ้ำ

3.1.6. ยุทธศาสตร์ที่ ๖ การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา (อัตถิภาวนิยมและปฏิรูปนิยม)

3.1.6.1. ๑. การเรียนรู้เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียน

3.1.6.2. ๒. การบริหารจัดการการป้องกันและปราบปรามการทุจริตอย่างเป็นระบบแบบบูรณาการ

4. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที ๑๒-๑๓ (๒๕๖๖-๒๕๗๐)

4.1. เป้าหมายหลัก (นิรันตรนิยม, พิพัฒนาการและปฏิรูปนิยม)

4.1.1. คุณภาพการศึกษาของไทยดีขึ้น

4.1.2. กำลังคนได้รับการผลิตและพัฒนา

4.1.3. มีองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรม

4.1.4. ได้เรียนรู้ต่อเนื่องตลอดชีวิต

4.1.5. การศึกษามีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล

4.2. วิสัยทัศน์ (สารัตถนิยม)

4.2.1. มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้คู่คุณธรรม มีคุณภาพชีวิตที่มีความสุขในสังคม

4.3. พันธกิจ (ปฏิรูปนิยมและอัตถิภาวนิยม)

4.3.1. ยกระดับคูภาพมาตรฐานการศึกษาสู่ระดับสากล

4.3.2. เสริมสร้างโอกาสเข้าถึงบริการทางการศึกษา ของประชาชนอย่างทั่งถึงและเที่าเทียม

4.3.3. พัฒนาระบบบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล

4.4. ยุทธศาสตร์ (นิรันตรนิยม, พิพัฒนาการนิยม, ปฏิรูปนิยมและอัตถิภาวนิยม)

4.4.1. พัฒนาหลักสูตร

4.4.2. ผลิตพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา

4.4.3. ผลิตและพัฒนากำลังคน

4.4.4. ขยายโอกาสการเข้าถึงการศึกษาตลอดชีวิต

4.4.5. ส่งเสริมและพัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา

4.4.6. พัฒนาระบบการจัดการและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา

5. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

5.1. จุดมุ่งหมาย

5.1.1. ๑. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๒. มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสารการคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยีและมีทักษะชีวิต ๓. มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัยและรักการออกกําลังกาย ๔. มีความรักชาติ มีจิตสํานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลกยึดมั่นในวิถีชีวิตและการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ๕. มีจิตสํานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทยการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อมมีจิตสาธารณะที่มุ่งทำประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดีงามในสังคมและอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข

5.2. ภาษาต่างประเทศ

5.2.1. สาระที่ ๑ ภาษาเพื่อการสื่อสาร มาตรฐาน ต ๑.๑ เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่างๆและแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล มาตรฐาน ต ๑.๒ มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารแสดงความรู้สึกและความคิดเห็นอย่างมีประสิทธิภาพ มาตรฐาน ต ๑.๓ นำเสนอข้อมูลข่าวสารความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรื่องต่างๆโดยการพูดและการเขียน

5.2.2. สาระที่ ๒ ภาษาและวัฒนธรรม มาตรฐาน ต ๒.๑ เข้าใจความสัมพันธุระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษาและนำไปใช้ได้อย่างเหมาะสมกับกาลเทศะ มาตรฐาน ต ๒.๒ เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับภาษาและวัฒนธรรมไทยและนำมาใช้อย่างถูกต้องและเหมาะสม

5.2.3. สาระที่ ๓ ภาษากับความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น มาตรฐาน ต ๓.๑ ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นและเป็นพื้นฐานในการพัฒนาแสวงหาความรู้และเปิดโลกทัศน์ของตน

5.2.4. สาระที่ ๔ ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก มาตรฐาน ต ๔.๑ ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่างๆทั้งในสถานศึกษาชุมชนและสังคม มาตรฐาน ต ๔.๒ ใช้ภาษาต่างประเทศเป็นเครื่องมือพื้นฐานในการศึกษาต่อการประกอบอาชีพและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสังคมโลก

6. ๑) เพื่อพัฒนาระบบและกระบวนการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ ๒) เพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นพลเมืองดี มีคุณลักษณะทักษะและสมรรถนะที่สอดคล้องกับบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติและยุทธศาสตร์ชาติ ๓) เพื่อพัฒนาสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ และคุณธรรม จริยธรรม รู้รักสามัคคี และร่วมมือผนึกกำลังมุ่งสู่การพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๔) เพื่อนำประเทศไทยก้าวข้ามกับดักประเทศที่มีรายได้ปานกลาง และความเหลื่อมล้ำภายในประเทศลดลง

7. พระราชบัญญัติการศึกษาไทย ๒๕๔๒ และฉบับปรับปรุงแก้ไข (ฉบับที่ ๒-๔)

7.1. หมวด ๑ บททั่วไป ความมุ่งหมายและหลักการ มาตรา๖ - มาตรา๙

7.2. หมวด ๒ สิทธิและหน้าที่ทางการศึกษา มาตรา๑๐ - มาตรา๑๔

7.3. หมวด ๓ ระบบการศึกษา มาตรา๑๕ - มาตรา๒๑

7.4. หมวด ๔ แนวการจัดการศึกษา มาตรา๒๒ – มาตรา๓๐

7.5. หมวด ๕ การบริหารและการจัดการศึกษา มาตรา๓๑ - มาตรา๔๖

7.6. หมวด ๖ มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา มาตรา๔๗ - มาตรา๕๑

7.7. หมวด ๗ ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา มาตรา๕๑ - มาตรา๕๗

7.8. หมวด ๘ ทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา มาตรา๕๘ - มาตรา๖๒

7.9. หมวด ๙ เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา มาตรา๖๓ - มาตรา๖๙

7.10. บทเฉพาะกาล มาตรา๗๐ - มาตรา๗๘