พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ by Mind Map: พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒

1. บังคับใช้เมื่อ ๒๐ ส.ค. ๔๒

2. ผู้รับสองฯ นายชวน หลีกภัย

3. ประกาศใช้เมื่อ ๑๙ ส.ค. ๔๒

4. เกิดจากรัฐธรรมนูญ ๒๕๔๐ มาตรา ๘๑

5. พรบ.การศึกษาฯ ฉ.๒ ยกเลิกฉบับเดิม ๑๓ ฉบับ

5.1. ประกาศใช้ ๘ ธ.ค. ๔๕

5.2. บังคับใช้ ๙ ธ.ค. ๔๕

5.3. ผู้รับสนองฯ นายทักษิณ ชินวัตร

5.4. มาตราที่ถูกแก้ไข

5.4.1. 4

5.4.2. 5

5.4.3. 31

5.4.4. 32

5.4.5. 33

5.4.6. 34

5.4.7. 37

5.4.8. 38

5.4.9. 39

5.4.10. 40

5.4.11. 45

5.4.12. 51

5.4.13. 74

6. มีทั้งหมด ๙ หมวด ๗๘ มาตรา

6.1. ส่วนนำ

6.1.1. มาตราที่ ๑-๕

6.1.1.1. มาตรา ๑

6.1.1.1.1. พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒”

6.1.1.2. มาตรา ๒

6.1.1.2.1. พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป

6.1.1.3. มาตรา ๓

6.1.1.3.1. บรรดาบทกฎหมาย กฎ ข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ และคำสั่งอื่นในส่วนที่ได้ บัญญัติไว้แล้วในพระราชบัญญัตินี้ หรือซึ่งขัดแย้งกับบทแห่งพระราชบัญญัตินี้ ให้ใช้พระราชบัญญัติ นี้แทน

6.1.1.4. มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้

6.1.1.4.1. “การศึกษา” หมายความว่า กระบวนการเรียนรู้เพื่อความเจริญงอกงามของบุคคลและสังคม โดยการถ่ายทอดความรู้ การฝึก การอบรม การสืบสานทางวัฒนธรรมการสร้างสรรค์จรรโลงความก้าวหน้าทางวิชาการ การสร้างองค์ความรู้อันเกิดจากการจัดสภาพแวดล้อม สังคม การเรียนรู้และปัจจัยเกื้อหนุนให้บุคคลเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต

6.1.1.4.2. "การศึกษาขั้นพื้นฐาน” หมายความว่า การศึกษาก่อนระดับอุดมศึกษา

6.1.1.4.3. “การศึกษาตลอดชีวิต” หมายความว่า การศึกษาที่เกิดจากการผสมผสานระหว่างการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเพื่อให้สามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต

6.1.1.4.4. “สถานศึกษา” หมายความว่า สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย โรงเรียน ศูนย์การเรียนวิทยาลัยสถาบัน มหาวิทยาลัย หน่วยงานการศึกษาหรือหน่วยงานอื่นของรัฐหรือของเอกชน ที่มีอำนาจหน้าที่หรือมีวัตถุประสงค์ในการจัดการศึกษา

6.1.1.4.5. “สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน” หมายความว่าสถานศึกษาที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน

6.1.1.4.6. “มาตรฐานการศึกษา” หมายความว่า ข้อกำหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพ ที่พึงประสงค์และมาตรฐานที่ต้องการให้เกิดขึ้นในสถานศึกษาทุกแห่ง และเพื่อใช้เป็นหลักในการเทียบเคียงสำหรับการส่งเสริมและกำกับดูแล การตรวจสอบ การประเมินผลและการประกันคุณภาพทางการศึกษา

6.1.1.4.7. “การประกันคุณภาพภายใน” หมายความว่า การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายใน โดยบุคลากรของสถานศึกษานั้นเองหรือโดยหน่วยงานต้นสังกัดที่มีหน้าที่กำกับดูแลสถานศึกษานั้น

6.1.1.4.8. “การประกันคุณภาพภายนอก” หมายความว่า การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบ คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายนอก โดยสำนักงานรับรองมาตรฐานและ ประเมินคุณภาพการศึกษาหรือบุคคลหรือหน่วยงานภายนอกที่สำนักงานดังกล่าวรับรอง เพื่อเป็นการ ประกันคุณภาพและให้มีการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

6.1.1.4.9. “ผู้สอน” หมายความว่า ครูและคณาจารย์ในสถานศึกษาระดับต่าง ๆ

6.1.1.4.10. "ครู" หมายความว่า บุคลากรวิชาชีพซึ่งทำหน้าที่หลักทางด้านการเรียนการสอนและการส่งเสริม การเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยวิธีการต่าง ๆ ในสถานศึกษาของทั้งของรัฐและเอกชน

6.1.1.4.11. "คณาจารย์" หมายความว่า บุคลากรซึ่งทำหน้าที่หลักทางด้านการสอนและการวิจัยในสถานศึกษา ระดับอุดมศึกษาระดับปริญญาของรัฐและเอกชน

6.1.1.4.12. “ผู้บริหารสถานศึกษา” หมายความว่า บุคลากรวิชาชีพที่รับผิดชอบการบริหารสถานศึกษา แต่ละแห่งของรัฐและเอกชน

6.1.1.4.13. “ผู้บริหารการศึกษา” หมายความว่า บุคลากรวิชาชีพที่รับผิดชอบการบริหารการศึกษา นอกสถานศึกษาตั้งแต่ระดับเขตพื้นที่การศึกษาขึ้นไป

6.1.1.4.14. “บุคลากรทางการศึกษา” หมายความว่า ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา รวมทั้ง ผู้สนับสนุนการศึกษาซึ่งเป็นผู้ทำหน้าที่ให้บริการ หรือปฏิบัติงานเกี่ยวเนื่องกับการจัดกระบวนการเรียน การสอน การนิเทศ และการบริหารการศึกษาในหน่วยงานการศึกษาต่าง ๆ

6.1.1.4.15. “กระทรวง” หมายความว่า กระทรวงการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

6.1.1.4.16. “รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้

6.1.1.5. มาตรา ๕

6.1.1.5.1. ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รักษาการตาม พระราบัญญัตินี้ และมีอำนาจออกกฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ให้ใช้บังคับได้

6.2. หมวดที่ ๑ ทั่วไป

6.2.1. มาตราที่ ๖-๙

6.2.1.1. มาตรา๖

6.2.1.2. มาตรา.๗

6.2.1.3. มาตรา.๘

6.2.1.4. มาตรา.๙

6.3. หมวดที่ ๒ สิทธี หน้าที่ทางการศึกษา

6.3.1. มาตราที่ ๑๐-๑๔

6.3.1.1. มาตรา๑๐

6.3.1.1.1. สิทธิเรียนไม่น้อยกว่า ๑๒ปีรัฐต้องจัดให้ทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่มีค่าใช้จ่าย

6.3.1.2. มาตรา๑๑

6.3.1.3. มาตรา๑๒

6.3.1.4. มาตรา๑๓

6.3.1.5. มาตรา๑๔

6.4. หมวดที่ ๓ ระบบการศึกษา

6.4.1. มาตราที่ ๑๕ - ๒๑

6.4.1.1. มาตรา๑๕

6.4.1.2. มาตรา๑๖

6.4.1.3. มาตรา๑๗

6.4.1.4. มาตรา๑๘

6.4.1.5. มาตรา๑๙

6.4.1.6. มาตรา๒๐

6.4.1.7. มาตรา๒๑

6.5. หมวดที่ ๔แนวการจัดการศึกษา

6.5.1. มาตราที่ ๒๒-๓๐

6.5.1.1. มาตรา ๒๒ เป็นมาตราที่สำคัญที่สุด สำหรับ พรบ.การศึกษาแห่งชาติ ๔๒

6.5.1.2. มาตรา๒๓

6.5.1.3. มาตรา๒๔

6.5.1.4. มาตรา๒๕

6.5.1.5. มาตรา๒๖

6.5.1.6. มาตรา๒๗

6.5.1.7. มาตรา๒๘

6.5.1.8. มาตรา๒๙

6.5.1.9. มาตรา๓๐

6.6. หมวดที่ ๕ การบริหารและการจัดการศึกษา

6.6.1. มาตรา ๓๑ - ๔๐ การจัดการบริหารและการจัดการศึกษา ของภาครัฐ

6.6.1.1. มาตรา31

6.6.1.2. มาตรา32

6.6.1.3. มาตรา33

6.6.1.4. มาตรา34

6.6.1.5. มาตรา35

6.6.1.6. มาตรา36

6.6.1.7. มาตรา37

6.6.1.8. มาตรา39

6.6.1.9. มาตรา40

6.6.2. มาตรา ๔๑ - ๔๒ การจัดการบริหารและการจัดการศึกษาขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น

6.6.2.1. มาตรา41

6.6.2.2. มาตรา42

6.6.3. มาตรา ๔๓-๔๖ การบริหาร และ การจัดการศึกษา ของ เอกชน

6.6.3.1. มาตรา43

6.6.3.2. มาตรา44

6.6.3.3. มาตรา45

6.6.3.4. มาตรา46

6.7. หมวดที่ ๖ มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา

6.7.1. มาตรา ๔๗ - ๕๑

6.7.1.1. มาตรา 47

6.7.1.2. มาตรา 48

6.7.1.3. มาตรา 49

6.7.1.4. มาตรา 50

6.7.1.5. มาตรา 51

6.8. หมวดที่ ๗ ครู อาจรย์ และบุคลากรทางการศึกษา

6.8.1. มาตรา ๕๒-๕๗

6.8.1.1. มาตรา 52

6.8.1.2. มาตรา53

6.8.1.3. มาตรา54

6.8.1.4. มาตรา55

6.8.1.5. มาตรา56

6.8.1.6. มาตรา57

6.9. หมวดที่ ๘ ทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา

6.9.1. มาตรา ๕๘-๖๒

6.9.1.1. มาตรา58

6.9.1.2. มาตรา59

6.9.1.3. มาตรา60

6.9.1.4. มาตรา61

6.9.1.5. มาตรา62

6.10. หมวดที่ ๙ แทคโนโลยีเพื่อการศึกษา

6.10.1. มาตรา ๖๓-๖๙

6.10.1.1. มาตรา63

6.10.1.2. มาตรา64

6.10.1.3. มาตรา65

6.10.1.4. มาตรา66

6.10.1.5. มาตรา67

6.10.1.6. มาตรา68

6.10.1.7. มาตรา69

6.11. บทเฉพาะกาล

6.11.1. มาตรา ๗๐-๗๘

6.11.1.1. มาตรา70

6.11.1.2. มาตรา71

6.11.1.3. มาตรา72

6.11.1.4. มาตรา73

6.11.1.5. มาตรา74

6.11.1.6. มาตรา75

6.11.1.7. มาตรา76

6.11.1.8. มาตรา77

6.11.1.9. มาตรา78

7. หมายเหตุ : - เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยกำหนดให้ รัฐต้องจัดการศึกษาอบรม และสนับสนุนให้เอกชนจัดการศึกษาอบรมให้เกิดความรู้คู่คุณธรรม จัดให้มีกฎหมายเกี่ยวกับการศึกษาแห่งชาติ ปรับปรุงการศึกษาให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม สร้างเสริมความรู้ และปลูกฝังจิตสำนึกที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข สนับสนุนการค้นคว้าวิจัยในศิลปวิทยาการต่างๆ เร่งรัดการศึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาประเทศ พัฒนาวิชาชีพครู และส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น ศิลปะและวัฒนธรรมของชาติ รวมทั้งในการจัดการศึกษาของรัฐ ให้คำนึงถึงการมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและเอกชน ตามที่กฎหมายบัญญัติและให้ความคุ้มครอง การจัดการศึกษาอบรมขององค์กรวิชาชีพและเอกชนภายใต้การกำกับดูแลของรัฐ ดังนั้น จึงสมควรมีกฎหมายว่าด้วย การศึกษาแห่งชาติ เพื่อเป็นกฎหมายแม่บทในการบริหารและจัดการการศึกษาอบรมให้สอดคล้องกับบทบัญญัติของ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยดังกล่าว จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้