computer

Plan your projects and define important tasks and actions

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
computer by Mind Map: computer

1. ประเภทของคอมพิวเตอร์

1.1. ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (supercomputer)

1.1.1. ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ ถือได้ว่าเป็นคอมพิวเตอร์ที่มีความเร็วมาก และมีประสิทธิภาพสูงสุด

1.2. เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (mainframe computer)

1.2.1. มีสมรรถภาพที่ต่ำกว่าซูเปอร์คอมพิวเตอร์มาก แต่ยังมีความเร็วสูง

1.3. มินิคอมพิวเตอร์ (minicomputer)

1.3.1. เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก ๆ ซึ่งสามารถบริการผู้ใช้งานได้หลายคนพร้อม ๆ กัน

1.4. ไมโครคอมพิวเตอร์ (microcomputer) หรือ พีซี (personal computer หรือ PC)

1.4.1. คอมพิวเตอร์ขนาดเล็กแบบขนาดตั้งโต๊ะ (desktop computer)

1.5. โน้ตบุ๊ค (notebook or laptop)

1.5.1. คอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กกว่าไมโครคอมพิวเตอร์ ถูกออกแบบไว้เพื่อนำติดตัวไปใช้ตามที่ต่างๆ

1.6. เน็ตบุ๊ค (netbook or laptop)

1.6.1. คอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กกว่าไมโครคอมพิวเตอร์และเล็กกว่าโน้ตบุ๊ค

1.7. อัลตร้าบุ๊ค (Ultrabook)

1.7.1. คอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กกว่าไมโครคอมพิวเตอร์และมีขนาดเท่ากับโน้ตบุ๊ค

1.8. แท็บเล็ต คอมพิวเตอร์ (tablet computer)

1.8.1. เครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถใช้ในขณะเคลื่อนที่ได้ ขนาดกลางและใช้หน้าจอสัมผัสในการทำงานเป็นอันดับแรก

2. ความหมาย

2.1. คอมพิวเตอร์มาจากภาษาละตินว่า Computare ซึ่งหมายถึง การนับ หรือ การคำนวณ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ให้ความหมายของคอมพิวเตอร์ไว้ว่า "เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ทำหน้าที่เหมือนสมองกล ใช้สำหรับแก้ปัญหาต่างๆ ที่ง่ายและซับซ้อนโดยวิธีทางคณิตศาสตร์"คอมพิวเตอร์มาจากภาษาละตินว่า Computare ซึ่งหมายถึง การนับ หรือ การคำนวณ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ให้ความหมายของคอมพิวเตอร์ไว้ว่า "เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ทำหน้าที่เหมือนสมองกล ใช้สำหรับแก้ปัญหาต่างๆ ที่ง่ายและซับซ้อนโดยวิธีทางคณิตศาสตร์"

3. องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์็

3.1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware)

3.1.1. สิ่งที่มองเห็นและจับต้องสัมผัสได้ทั้งหมด

3.1.1.1. ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ (Case)

3.1.1.2. เมนบอร์ด (Mainboard)

3.2. ซอฟต์แวร์ (Software)

3.2.1. โปรแกรม (Program) หรือชุดคำสั่งที่ควบคุมให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงาน

3.3. ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software)

3.3.1. เป็นซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่จัดการและควบคุม ทรัพยากรต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์ และอำนวยความสะดวกด้านเครื่องมือสำหรับการทำงานพื้นฐานต่าง ๆ

3.4. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)

3.4.1. ซอฟต์แวร์ที่สร้างหรือพัฒนาขึ้น เพื่อใช้งานด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะ

3.4.1.1. งานด้านการจัดทำเอกสาร การทำบัญชี การจัดเก็บข้อมูลข่าวสาร

3.5. ข้อมูล/สารสนเทศ (Data/Information)

3.5.1. ข้อมูลต่างๆ ที่เรานำมาให้คอมพิวเตอร์ทำการประมวลผลคำนวณ หรือกระทำการอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้มาเป็นผลลัพธ์ที่เราต้องการ

3.5.1.1. ข้อมูลบุคลากรเกี่ยวกับรายละเอียดประวัติส่วนตัว ประวัติการศึกษาหรือ ประวัติการทำงาน

3.6. บุคคลากร (Peopleware)

3.6.1. เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานต่างๆ และผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในหน่วยงานนั้นๆ บุคลากรด้านคอมพิวเตอร์นั้น

3.6.1.1. เจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ (Operator)

3.6.1.2. บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับระบบ (System)

3.6.1.3. ผู้จัดการศูนย์ประมวลผลคอมพิวเตอร์ (Electronic Data Processing Manager)

3.6.1.4. ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ (Computer user)

3.7. กระบวนการทำงาน (Documentation/Procedure)

3.7.1. เป็นขั้นตอนการทำงานเพื่อให้ได้ ผลลัพธ์หรือข้อสนเทศจากคอมพิวเตอร์

4. ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์

4.1. 1. งานธุรกิจ

4.1.1. บริษัท ร้านค้า ห้างสรรพสินค้า ตลอดจนโรงงานต่างๆ

4.1.1.1. ใช้คอมพิวเตอร์ในการทำบัญชี งานประมวลคำ และติดต่อกับหน่วยงานภายนอกผ่านระบบโทรคมนาคม

4.2. 2. งานวิทยาศาสตร์ การแพทย์ และงานสาธารณสุข สามารถนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในนำมาใช้ในส่วนของการคำนวณที่ค่อนข้างซับซ้อน

4.2.1. งานศึกษาโมเลกุลสารเคมี วิถีการโคจรของการส่งจรวดไปสู่อวกาศ

4.2.2. งานทะเบียน

4.3. 3. งานคมนาคมและสื่อสาร ในส่วนที่เกี่ยวกับการเดินทาง

4.3.1. จองวันเวลา ที่นั่ง ซึ่งมีการเชื่อมโยงไปยังทุกสถานีหรือทุกสายการบินได้

4.3.2. การควบคุมระบบการจราจร เช่น ไฟสัญญาณจราจร และ การจราจรทางอากาศ

4.4. 4. งานวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม สถาปนิกและวิศวกร

4.4.1. การออกแบบ หรือ จำลองสภาวการณ์ ต่างๆ เช่น การรับแรงสั่นสะเทือนของอาคาร

4.5. 5. งานราชการ เป็นหน่วยงานที่มีการใช้คอมพิวเตอร์มากที่สุด โดยมีการใช้หลายรูปแบบ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับบทบาทและหน้าที่ของหน่วยงานนั้นๆ

4.5.1. กระทรวงศึกษาธิการ มีการใช้ระบบประชุมทางไกลผ่านคอมพิวเตอร์

4.5.2. กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้จัดระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อเชื่อมโยงไปยังสถาบันต่างๆ

4.5.3. กรมสรรพากร ใช้จัดในการจัดเก็บภาษี บันทึกการเสียภาษี

4.6. 6. การศึกษา

4.6.1. การใช้คอมพิวเตอร์ทางด้านการเรียนการสอน

5. ลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์

5.1. 1. หน่วยเก็บ (Storage)

5.1.1. ความสามารถในการเก็บข้อมูลจำนวนมากและเป็นเวลานาน

5.2. 2. ความเร็ว (Speed)

5.2.1. ความสามารถในการประมวลผลข้อมูล (Processing Speed) โดยใช้เวลาน้อย

5.3. 3. ความเป็นอัตโนมัติ (Self Acting)

5.3.1. ความสามารถในการประมวลผลข้อมูลตามลำดับขั้นตอนได้อย่างถูกต้องและต่อเนื่องอย่างอัตโนมัติ

5.4. 4. ความน่าเชื่อถือ (Sure)

5.4.1. ความสามารถในการประมวลผลให้เกิดผลลัพธ์ที่ถูกต้อง

6. การทำงานของคอมพิวเตอร์

6.1. รับข้อมูลเข้า (Input)

6.1.1. เริ่มต้นด้วยการนำข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งสามารถผ่านทางอุปกรณ์ชนิดต่างๆ เริ่มต้นด้วยการนำข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งสามารถผ่านทางอุปกรณ์ชนิดต่างๆ

6.1.1.1. แป้นพิมพ์ (Keyboard)

6.2. ประมวลผลข้อมูล (Process)

6.2.1. เมื่อนำข้อมูลเข้ามาแล้ว เครื่องจะดำเนินการกับข้อมูลตามคำสั่งที่ได้รับมาเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ ต้องการ

6.3. แสดงผลลัพธ์ (Output)

6.3.1. เป็นการนำผลลัพธ์จากการประมวลผลมาแสดงให้ทราบทางอุปกรณ์ที่กำหนด

6.3.1.1. "จอมอนิเตอร์" (Monitor) หรือจะพิมพ์ข้อมูลออกทางกระดาษโดยใช้เครื่องพิมพ์ก็ได้