1. สภาพปัญหาและแนวทางในการแก้ไขปัญหาในสังคมประเภทของความรู้
1.1. ธรรมชาติของความรู้
1.1.1. วิชาหรือสาขาที่เกิดจากการประเมินข้อเท็จจริง
1.1.2. ผลที่เกิดจากประสบการณ์
1.1.3. การผสมผสานระหว่างวิชาต่างๆและประสบการณ์
1.2. โครงสร้างของความรู้
1.2.1. เบนจามิน เอส บลูม
1.2.1.1. พุทธิพิสัย
1.2.1.2. จิตติสัย
1.2.1.3. ทักษะพิสัย
1.2.2. บรุนเนอร์
1.2.2.1. ส่วนที่เป็นข้อเท็จจริง
1.2.2.2. ส่วนที่เป็นหลักเกณฑ์
1.2.2.3. ส่วนที่เป็นมโนทัศน์
1.3. โครงสร้างของสมองกับพัฒนาการ
1.3.1. สมองซีกซ้าย(อ่าน เขียน คิดเลข)
1.3.2. สมองซีกขวา(ศิลป์ จินตนาการ
1.4. ประเภทของความรู้
1.4.1. แสดงสัญลักษณ์
1.4.2. วัฒนธรรมและการตัดสินใจ
1.4.3. การใช้เหตุผล
1.4.4. คามจำ
2. วิทยาศาตร์และเทคโนโลยี
2.1. ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโลโลยีที่ให้สังคมเปลี่ยนแปลงไป
2.2. ผู้เรียนจึงต้องมีความรู้ใหม่และทักษะใหม่
2.3. ต้องเปลี่ยนแปลงเจตคติใหม
2.4. ต้องปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงของสังคม
3. สภาพของสังคมในอนาคต
3.1. อุตสาหกรรมขนาดย่อม(SME)และอุตสาหกรรมท้องถิ่น(OTOP)
3.2. อาชีพอิสระเริ่มมีความสำคัญ
3.3. สภาพสังคมต้องมีการแข่งขันเพื่อการอยู่รอด
3.4. วัฒนธรรมตะวันตกเข้ามามีผลกระทบต่อวัฒนธรรมไทย
3.5. คนไทยจะประสบปัญหาสุขภาพและอาชีพมากขึ้น
4. บุคคลภายนอกและนักวิชาการต่างๆ
4.1. ข้อมูลจากนักวิชาการ
4.2. ข้อมูลจากผู้ประกอบการ
5. ประวัติศาสตร์และการศึกษาหลักสูตรเดิม
5.1. จุดเด่น จุดด้อย องค์ประอบต่างๆของหลักสูตร
5.2. ประสิทธิภาพการนำไปใช้
5.3. ความพึ่งพอใจของผู้เกี่ยวข้อง
6. ปรัชญาการศึษา
6.1. สารัตถนิยม( Essentialism) เน้นสอนเนื้อหา
6.2. นิรันตรนิยม(Perennialism) เน้นสอนให้เป็นคนดี
6.3. พิพัฒนาการนิยม(Progressivism) เน้นสอนการลงมือปฏิบัติ
6.4. ปฏิรูปนิยม(Reconstructionism) เน้นสอนให้ช่วยเหลือผู้อื่น
6.5. อัตถิภาวนิยม(Existentialism) เน้นพัฒนาตนเอง
6.6. พุทธปรัชญา(Buddhism philosophy) เน้นการอยู่ร่วมกับผู้อื่นให้มีความสุข
7. จิตวิทยา
7.1. จิตวิทยาพัฒนาการ
7.1.1. กลุ่มพฤติกรรมนิยม
7.1.1.1. ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นได้ค์ (ธอร์นไดค์ใช้แมว)
7.1.1.1.1. การเรียนรู้เกิดจากการลองผิดลองถูก
7.1.1.1.2. กฎแห่งผล
7.1.1.1.3. กฎแห่งความพร้อม
7.1.1.1.4. กฎแห่งการฝึก
7.1.1.2. ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิก (พาฟลอฟใช้ DOG)
7.1.1.2.1. การเรียนรู้เกิดจากการวางเงื่อนไข
7.1.2. กลุ่มพุทธินิยม
7.1.2.1. การเรียนรู้ตามแนวคิดของเพียเจต์
7.1.2.1.1. ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา 4 ขั้น