กฟกฟกฟ

Just an initial demo map, so that you don't start with an empty map list ...

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
กฟกฟกฟ by Mind Map: กฟกฟกฟ

1. ก๊าซจำพวก คาร์บอนไดออกไซด์ หรือ มีเทน จะกักเก็บความร้อนบางส่วนไว้ในในโลก ไม่ให้สะท้อนกลับสู่บรรยากาศทั้งหมด

2. ระดับน้ำทะเลเพิ่มสูงขึ้นเนื่องจากธารน้ำแข็งที่กำลังละลาย และอุณหภูมิทั่วโลกที่กำลังสูงขึ้นจากการขยายตัวทางความร้อนของน้ำในมหาสมุทร

3. ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะ ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change)

4. เิดินขบวนรณรงค์ ตามสถานที่สำคัญต่างๆ

4.1. สวนจตุจักร

4.2. อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย

4.3. วงเวียนใหญ่

4.4. สยาม-ราชเทวี

4.5. สวนลุม

5. โอโซน (O3)

5.1. เป็นก๊าซที่มีคุณสมบัติความเป็นก๊าซเรือนกระจกมากที่สุด

5.1.1. ก๊าซโอโซนเกิดขึ้นจากการเผาไหม้มวลชีวภาพและการสันดาปของเครื่องยนต์

5.1.2. หมอกควันซึ่งเกิดจากการจราจรและโรงงาน

6. เผยแพร่ข่าวสาร

6.1. สื่อสิ่งพิมพ์

6.1.1. โปสเตอร์

6.1.2. แผ่นพับ

6.2. สื่อกระจายเสียงและภาพ

6.2.1. สปอตโฆษณาทาง โทรทัศน์ และวิทยุ

7. ปรับอุณหภูมิห้องของคุณ

8. ความหมาย

9. วิธีแก้ไข/ลด

9.1. เปลี่ยนหลอดไฟ

9.2. ขับรถให้น้อยลง

9.3. รีไซเคิลให้มากขึ้น

9.4. เช็คลมยาง

9.5. ใช้น้ำร้อนให้น้อยลง

9.6. หลีกเลี่ยงผลิตภัณฑ์ที่มีบรรจุภัณฑ์เยอะ

9.7. ปลูกต้นไม้

9.8. ปิดเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ไม่ใช้

10. การรณรงค์

10.1. จัดกิจกรรมพิเศษ

10.1.1. งานเสวนา เรื่อง ภาวะโลกร้อน

10.1.2. จัดโครงการประกวดวาดภาพ หัวข้อ ลดภาวะโลกร้อน

10.1.3. จัดประกวดแต่งคำขวัญ รณรงค์ลดโลกร้อน

11. ก๊าซไนตรัสมีปริมาณเพิ่มขึ้นเนื่องจากอุตสาหกรรมที่ใช้กรดไนตริก

11.1. อุตสาหกรรมผลิตเส้นใยไนลอน

11.2. อุตสาหกรรมเคมีและพลาสติกบางชนิด

12. มีแหล่งกำเนิดจากโรงงานอุตสาหกรรม และอุปกรณ์เครื่องใช้ในชีวิตประจำวัน

12.1. ตู้เย็น เครื่องปรับอากาศ

13. สารประกอบคลอโรฟลูออโรคาร์บอน (CFC)

14. มีก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศถึง 98%

14.1. ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์มีปริมาณเพิ่มขึ้น

14.1.1. การเผาไหม้เชื้อเพลิง โรงงานอุตสาหกรรม

14.1.2. การเผาป่าเพื่อใช้พื้นที่สำหรับอยู่อาศัยและการทำปศุสัตว์

15. ไอน้ำ (H2O)

15.1. มีอยู่ในอากาศประมาณ 0–4%

15.1.1. ไอน้ำเกิดขึ้นโดยฝีมือมนุษย์ 2 วิธี คือ

15.1.1.1. จากการเผาไหม้เชื้อเพลิงหรือก๊าซธรรมชาติ

15.1.1.2. จากการหายใจและคายน้ำของสัตว์และพืชในการทำเกษตรกรรม

16. สาเหตุ

16.1. ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (Co2)

16.2. ก๊าซมีเทน (CH4)

16.2.1. ก๊าซไนตรัสออกไแซด์ (NO)

16.2.1.1. ก๊าซมีเทนมีปริมาณเพิ่มขึ้น

16.2.1.1.1. การทำนาข้าว ปศุสัตว์

16.2.1.1.2. การเผาไหม้มวลชีวภาพ การเผาไหม้เชื้อเพลิงประเภทถ่านหิน น้ำมัน และก๊าซธรรมชาติ

16.3. ก๊าซไนตรัสออกไแซด์ (NO)

16.3.1. ก๊าซเรือนกระจกที่ถูกปล่อยออกมามหาศาลจากชั้นดินเยือกแข็ง และป่าที่กำลังตาย

17. ผลกระทบ

17.1. มีความเสี่ยงมากขึ้นที่จะเกิดสภาพอากาศรุนแรง เช่น คลื่นความร้อน ความแห้งแล้ง และ น้ำท่วม

17.2. สัตว์สายพันธุ์ต่างๆ เสี่ยงต่อการสูญพันธุ์มากขึ้น

17.3. กระแสน้ำอุ่นในมหาสมุทรแอตแลนติกที่ไหลช้าลง เปลี่ยนทิศทาง หรือ หยุดไหล