WEIGHT CONTROL

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
WEIGHT CONTROL by Mind Map: WEIGHT CONTROL

1. สูตรอาหาร

1.1. เพื่อสุขภาพ

1.1.1. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

1.1.2. คุมน้ำหนัก

1.1.3. ธงโภชนาการ จานสุขภาพ

1.2. เฉพาะโรค

1.2.1. ควบคุมอาการของโรค

1.2.2. ชะลอโรค

1.2.3. ความดันโลหิตสูง -> DASH Diet

1.2.4. เบาหวาน -> Low Glycemic index Diet Plan

1.3. ลดน้ำหนัก

1.3.1. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

1.3.1.1. Best Life

1.3.1.1.1. มี 3 เฟส

1.3.1.1.2. สุขภาพดี ไม่อันตราย ยั่งยืน

1.3.1.1.3. หลักการไม่ละเอียด เห็นผลช้า

1.3.1.2. Change One

1.3.1.2.1. มี 12 สัปดาห์

1.3.1.2.2. รวมพลังงานต่อวันต้องไม่เกิน 1600 kcal

1.3.1.2.3. สุขภาพดี ไม่อันตราย ยั่งยืน

1.3.1.2.4. เครียดเรื่องนับแคลอรี่ เห็นผลช้า

1.3.1.3. French Woman's, Scentsational, Supermarket, Ultimate New York, "You, on a Diet"

1.3.2. กำจัดคาร์บ หรือ โปรตีน หรือไขมัน

1.3.2.1. Atkins

1.3.2.1.1. ใช้เวลา 3-4 อาทิตย์

1.3.2.1.2. น้ำหนักลดเร็วมาก

1.3.2.1.3. อันตรายจากการขาดสารอาหาร ใยอาหาร และวิตามัน ร่างกายอ่อนเพลีย

1.3.2.2. Pritikin

1.3.2.2.1. วัตถุประสงค์แรกคือป้องกันและบรรเทาอาการโรคหัวใจและหลอดเลือด

1.3.2.2.2. อัตราส่วนกระจายพลังงาน

1.3.2.2.3. กำหนดพลังงาน

1.3.2.2.4. ลดน้ำหนักในระยะสั้น

1.3.2.2.5. ขาดสารอาหาร รับพลังงานไม่เพียงพอ

1.3.2.3. South Beach

1.3.2.3.1. เน้นโปรตีน ลดคาร์บ

1.3.2.3.2. มี 3 เฟส

1.3.2.3.3. ระยะ 1 ลดน้ำหนักเร็ว

1.3.2.3.4. อันตรายจากการขาดสารอาหาร ใยอาหาร และวิตามัน ร่างกายอ่อนเพลีย

1.3.2.4. Zone

1.3.2.4.1. ใช้ความสมดุลของโปรตีนและคาร์บ

1.3.2.4.2. อัตราส่วนการกระจายพลังงาน

1.3.2.4.3. ลดคาร์บ กินโปรตีนไขมันต่ำ เพื่อคุมน้ำตาลในเลือดและฮอร์โมน

1.3.2.4.4. อาหารไม่เกิน 500 kcal ของว่าง 100 kcal

1.3.2.4.5. หากินง่าย

1.3.2.4.6. เสี่ยงได้รับไขมันสูงเกิน เห็นผลช้า

1.3.2.5. Complete Hip and Thigh, Dean Ornish, L.A. Shape, The New Sugar Buster, Secret of Good-Carb, Victoria Principal Bikini

1.3.3. ทดแทนมื้ออาหาร

1.3.3.1. ผลิตภัณฑ์ที่กินแทนอาหารต่างๆ

1.3.3.1.1. OPTIFAST

1.3.3.1.2. Slim-Fast

1.3.3.1.3. Weight Watchers

1.3.4. อาหารชนิดเฉพาะ

1.3.4.1. 3-Apple-a-Day

1.3.4.1.1. กินแอปเปิ้ลก่อนอาหาร 3 มื้อ

1.3.4.1.2. ไม่ต้องนับแคล ได้ใยอาหาร หาซื้อง่าย

1.3.4.1.3. กินเยอะๆแล้วเบื่อ

1.3.4.2. Jucing

1.3.4.2.1. ดื่มแค่ของเหลว

1.3.4.2.2. ระวังสำหรับผู้ป่วยบางโรคที่ต้องจำกัดปริมาณผักผลไม้

1.3.4.3. New Cabbage Soup, Drinking Man's, Grapefruit, Peanut Butter

1.3.5. กลุ่มอาหาร และอาหารแลกเปลี่ยน

1.3.5.1. ABS DIET POWER

1.3.5.1.1. A

1.3.5.1.2. B

1.3.5.1.3. S

1.3.5.1.4. คือแต่ละตัวอักษรมันจะย่อมางี้อะ ไปหาอ่านเองได้ปะ ไม่น่าออก ออกก็คงแค่สามตัวนี้

1.3.5.2. Tri-Colour

1.3.5.2.1. ใช้สารพฤกษเคมีเป็นตัวกำหนด

1.3.5.2.2. ผักผลไม้ 9 ส่วนต่อวัน

1.3.5.2.3. ไขมันไม่เกิน 20%

1.3.5.2.4. ลดน้ำหนักถาวร สารต้านอนุมูลอิสระสูง

1.3.5.2.5. ผู้ป่วยบางโรคที่จำกัดผักผลไม้ควรระวัง

1.3.6. กำหนดเวลา

1.3.6.1. 3-Hour

1.3.6.1.1. กินทุก 3 ชั่วโมง (5-6 มื้อต่อวัน)

1.3.6.1.2. อ้างอิงหลักนาฬิการ่างกาย ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและความหิว

1.3.6.1.3. ลดน้ำหนัก เพิ่มการเผาผลาญ

1.3.6.1.4. ถ้าทำงานทั้งวันบางทีก็กินทุกสามชั่วโมงไม่ได้

1.3.6.2. New Beverly Hills

1.3.6.2.1. 35 วัน

1.3.6.2.2. จัดเมนูง่าย

1.3.6.2.3. ระวังน้ำตาลในผลไม้ มื้อเช้าขาดสารอาหาร

1.4. การวิเคราะห์

1.4.1. อ่านและทำความเข้าใจ

1.4.2. ดูความเป็นไปได้ เช่น หาซื้อได้ แล้วชอบมั้ย เข้ากับเรามั้ย

1.4.3. คำนวณ cal คร่าวๆ ตามอาหารแลกเปลี่ยนบทนู้น

1.4.4. วิเคราะห์พลังงานสารอาหาร แบบบทนู้นเช่นกัน

1.4.5. ดูผลดีผลเสีย

1.5. การกำหนดอาหาร

1.5.1. ดูประวัติและการใช้ชีวิต

1.5.2. ดูประวัติการกิน

1.5.3. คำนวณว่าต้องใช้พลังงานเท่าไหร่

1.5.4. ตั้งเป้าหมายน้ำหนัก

1.5.5. ดูว่าควรกินเท่าไหร่

1.5.6. ปรับเปลี่ยนอาหาร

2. ยาลดน้ำหนัก

2.1. การใช้ยาลดน้ำหนัก

2.1.1. BMI

2.1.1.1. ต้อง BMI >= 30 โดยลดเองมามากกว่า 3 เดือนแล้วลดไม่ได้

2.1.1.2. ถ้าเป็นโรคเบาหวาน โรคหัวใจ ความดัน หยุดหายใจระหว่างนอน ให้ใช้เมื่อ BMI >= 27

2.1.2. ต้องใช้ควบคู่วิธีอื่น

2.1.3. น้ำหนัก

2.1.3.1. ต้องน้ำหนักลง > 2 kg ใน 1 เดือน

2.1.3.2. ต้องน้ำหนักลง 3-5% ของน้ำหนักตัว ใน 3-6 เดือน

2.1.3.2.1. ถ้าคงไว้ตลอดการให้ยา = ยามีประสิทธิผล

2.1.4. ห้ามใช้ยามากกว่า 1 ตัวร่วมกัน

2.1.5. ถ้าไม่ขาดไทรอยด์ห้ามใช้ไทรอยด์รักษาโรคอ้วน

2.2. ชนิดยา

2.2.1. ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนกลาง

2.2.1.1. ออกฤทธิ์กับที่ควบคุมความหิวในไฮโปธาลามัส

2.2.1.2. กระตุ้นประสาท

2.2.1.3. ทำให้ไม่อยากอาหาร

2.2.1.4. เป็นอนุพันธ์ของ แอมเฟตามีน

2.2.1.5. ลมชัก, ต้อหินมุมเปิด, ความดันในตาสูง, โรคซึมเศร้า, ใช้ยาที่มีความเสี่ยงต่อเลือดออก ควรระวัง

2.2.1.6. ควบคุมโดยพระราชบัญญัติวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. 2518 (ประเภทที่ 2)

2.2.1.7. Anorexia, Bulimia, โรคหัวใจล้มเหลว, หลอดเลือดหัวใจ etc เกี่ยวกับหัวใจและหลอดเลือด โรคจิต ห้ามใช้ และห้ามใช้กลุ่มนี้ร่วมกันกับยาต้านซึมเศร้า และกลุ่มเดียวกันก็ไม่ได้ ติดยาติดเหล้า ไทรอยด์ทำงานเกิน ต่อมลูกหมากโต ไตเสื่อมปานกลาง ตับบกพร่องรุนแรง เด็กกว่า 18 หรือ ชายแก่กว่า 45 หญิงแก่กว่า 55 ผู้มีความเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดและหัวใจ ห้ามใช้

2.2.1.8. Phentermine, Amfepramone (diethylpropion),

2.2.1.8.1. ได้รับอนุมัติให้ใช้ต่อเนื่องไม่เกิน 12 สัปดาห์

2.2.1.8.2. ใช้ยา 3 เดือนแรก ตรวจความดันและอัตราการเต้นหัวใจทุก 2 อาทิตย์ 3 เดือนหลัง ตรวจทุกเดือน แล้วก็ตรวจทุก 3 เดือน

2.2.1.8.3. หยุดเมื่อความดัน > 145/90

2.2.1.9. Sibutramine (Reductil)

2.2.1.9.1. เพิกถอนทะเบียนตำรับเมื่อ 2553 (สมัครใจ)

2.2.1.9.2. เคยได้รับให้ใช้ไม่เกิน 1 ปี

2.2.1.9.3. หยุดเมื่อความดันโลหิต > 145/90

2.2.1.10. Fenfluramine, Dexfenfluramine

2.2.1.10.1. ถูกเพิกถอนทะเบียนตำรับเมื่อ 2543 เพราะถ้าใช้ยาสองชนิดร่วมกันนานๆจะมีความเสี่ยงต่อโรคลิ้นหัวใจ

2.2.2. ออกฤทธิ์ต่อทางเดินอาหาร

2.2.2.1. Bulk-forming agents

2.2.2.1.1. ผสมสารสกัดจากหัวบุกบางชนิด ( Methyl celluose, Glucomannan)

2.2.2.1.2. มันจะไปขยายตัวทำให้อิ่ม

2.2.2.1.3. ต้องกินน้ำเยอะๆจะได้ไม่อุดตัน

2.2.2.1.4. กินพร้อมหรือหลังอาหารไม่เกิน 1 ชม. ครั้งละ 1 เม็ด (120 mg)

2.2.2.2. Orlistat (Xenical)

2.2.2.2.1. ยับยั้ง lipase ทำให้ลดการดูดซึมไขมัน

2.2.2.2.2. ได้รับอนุมัติให้ใช้ระยะยาว แต่ไม่แนะนำให้เกิน 2 ปี

2.2.2.2.3. ลดการดูดซึมไขมันได้มากสุด 30%

2.2.3. ยาเถื่อน

2.2.3.1. ยาจากโรงพยาบาลเอกชน

2.2.3.1.1. Amphetamines ทำให้เบื่ออาหาร

2.2.3.1.2. Fenfluramine, Dexfenfluramine ลดการทำงานศูนย์ควบคุมความหิวทำให้ไม่อยากอาหาร

2.2.3.1.3. ฮอร์โมนไทรอยด์ เพิ่มการเผาผลาญ

2.2.3.1.4. ยาขับปัสสาวะ เอาน้ำออกเลยรู้สึกผอม

2.2.3.1.5. ยาถ่าย

2.2.3.1.6. วิตามิน ลดผลข้างเคียงจากยานู่นนี่นั่น เพราะปกติยาลดความอ้วนทำให้ขาดวิตามิน

2.2.3.1.7. ยากลุ่ม เบต้าบล็อกเกอร์ เช่น propanolol ลดการใจสั่นจากแอมเฟตามีนกับไทรอยด์

2.2.3.1.8. ยานอนหลับ แก้นอนไม่หลับจากแอมเฟตามีน

2.2.3.2. ยาไอซ์

2.2.3.2.1. คือเมทแอมเฟตามีน

2.2.3.2.2. ลดความอยากอาหาร

2.2.3.3. ยาลดเฉพาะส่วน

2.2.3.3.1. ไม่มีจริง

3. ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร

3.1. สรุปง่ายมากๆ คือมันไม่มีอาหารเสริมที่ลดน้ำหนักได้ในโลกในขณะนี้ แล้วการอ้างเกี่ยวกับโรคก็ผิดกฎหมาย ซึ่งโรคอ้วนก็คือโรค ดังนั้น อ้างว่าลดความอ้วนได้ก็ผิด

3.2. ส่วนใหญ่ที่กินแล้วน้ำหนักลดคือแอบผสมยาลดความอ้วนเข้าไป

3.3. check โดย ถ้าใจสั่น หงุดหงิด คอแห้ง ปากแห้ง คือใส่ยาลดแน่ๆ

3.4. เวลาค้นหาตามทะเบียนอาหารและยาจะไปอยู่ในหมวด Special Nutritional and Cosmetic Product