การประเมินสภาพจิต สังคม และจิตวิญญาณ

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การประเมินสภาพจิต สังคม และจิตวิญญาณ by Mind Map: การประเมินสภาพจิต สังคม และจิตวิญญาณ

1. จุดมุ่งหมายของการประเมินสภาพจิต

1.1. ก.การวินิจฉัยเป็นจุดมุ่งหมายหลัก คือการสรุปว่าผู้ป่วยมีโรคทางจิตเวชตามการแบ่งชนิดของโรค

1.2. ข.เข้าใจความเป็นมาในปัญหาของผู้ป่วย

1.3. ค.การวางแผนการรักษา

1.4. ง.เข้าใจเรื่องจิตใจของผู้ป่วย คือเข้าใจสาเหตุเพื่อเข้าใจปัญหาที่แท้จริง

1.5. จ.ความสัมพันธ์เพื่อการรักษา คือความสัมพันธ์ที่ดีเป็นจุดเริ่มต้นเป็นพื้นฐานของการรักษา

2. ความหมาย

2.1. การประเมินและวิเคราะห์หาสาเหตุของโรค              หรือปัญหาทางจิตเวช

3. กระบวนการวินิจฉัยทางจิตเวช

3.1. 1.การสัมภาษณ์ทางจิตเวช

3.2. 3.การตรวจสภาพจิต

3.3. 4.การตรวจสภาพจิต

3.4. 5.การตรวจพิเศษ

3.5. 6.การวินิจฉัย และการวินิจฉัยแยกโรค

3.6. 7.สรุปความเป็นมาของปัญหาทางจิตใจ

3.7. 8.การพยากรณ์โรค

3.8. 9.การวางแผนการรักษา

3.9. 10.การเขียนรายงานผู้ป่วยจิตเวช

4. การตรวจทางจิตเวช

4.1. ประวัติ

4.1.1. ประวัติส่วนตัว

4.1.1.1. ชื่อ เพศ อายุ การศึกษา ที่อยู่ ศาสนา อาการสำคัญ การเจ็บป่วยในอดีต พัฒนาการ ประวัติปัจจุบัน การเจ็บป่วยในครอบครัว

4.1.2. ประวัติเกี่ยวกับครอบครัว

4.1.2.1. ปัญหาในบ้าน ความคาดหวัง ลักษณะบ้าน ค่านิยม

4.1.3. ประวัติเกี่ยวกับสถานศีกษา การเรียน/การทำงาน

4.2. การตรวจสภาพจิต

4.2.1. ลักษณะทั่วไป

4.2.1.1. สภาพร่างกายและอารมณ์

4.2.1.2. พฤติกรรมทั่วไปขณะการสัมภาษณ์ การเคลื่อนไหว

4.2.1.3. ท่าทีต่อผู้สัมภาษณ์

4.2.2. การพูดและการใช้ภาษา

4.2.2.1. คุณภาพการพูด เช่น น้ำเสียง ความดัง เบา การออกเสียง

4.2.2.2. ปริมาณการพูด เช่น อิสระ ลื่นไหล

4.2.2.3. ระบบการพูด เช่นสอดคล้องสัมพันธ์กัน ตรงประเด็น

4.2.3. ความคิดและการคิด

4.2.3.1. กระบวนการหรือรูปแบบการคิด

4.2.3.1.1. อ้อมค้อม วกวน ไม่ตรงจุด

4.2.3.1.2. ไม่ปะติดปะต่อ

4.2.3.1.3. คิดเร็ว พูดเร็ว

4.2.3.1.4. ใช้คำแปลกหรือสร้างคำใช้เอง

4.2.3.1.5. พูดคำคล้องจองโดยที่คำไม่สัมพันธ์กันเลย

4.2.3.2. เนื้อหาความคิด

4.2.3.2.1. ระดับของเนื้อหาความคิด

4.2.3.2.2. ความผิดปกติ ของเนื้อหาความคิด

4.2.4. สภาวะอารมณ์

4.2.4.1. อารมณพื้นฐาน

4.2.4.2. อารมณ์ที่แสดงออก

4.2.4.2.1. ลักษณะ

4.2.5. การรับรู้

4.2.5.1. Illusions คือ แปลความหมายจากการรับรู้ผิด

4.2.5.2. Hallucination คือ การรับรู้ทั้งที่ไม่มีสิ่งเร้า

4.2.5.3. ลักษณะอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับการรับรู้

4.2.5.3.1. ความฝัน

4.2.5.3.2. ประสาทหลอนช่วงเคลิ้มหลับ/ตื่น

4.2.5.3.3. รับรู้ว่าเคยเกิดประสบการณ์ทั้งที่เพิ่งเกิด

4.2.6. การหยั่งรู้สภาพความเจ็บป่วย

4.2.6.1. ระดับของการรู้ตัวและเข้าใจเกี่ยวกับการเจ็บป่วยของตนเอง

4.2.7. การตัดสินใจ

4.2.7.1. ในการดำเนินชีวิต

4.2.7.2. ในสถานการณ์สมมติ

4.2.7.3. การวางแผนชีวิตอนาคต

4.2.8. การรับรู้สภาวะตนเองและสิ่งแวดล้อม

4.2.8.1. ความรู้สึกตัว

4.2.8.2. การรู้เวลา

4.2.8.2.1. เวลา

4.2.8.2.2. สถานที่

4.2.8.2.3. บุคคล

4.2.8.3. ความจำ

4.2.8.3.1. การคงความจำไว้

4.2.8.3.2. การนำความจำออกมาใช้

4.2.8.3.3. ความจำระยะสั้นหรือความจำในปัจจุบัน

4.2.8.3.4. ความจำระยะไกลหรือความจำในอดีต

4.2.8.3.5. การเรียกคืนความจำ

4.2.8.4. เชาว์ปัญญา

4.2.8.4.1. ข้อมูลทั่วไป

4.2.8.4.2. การใช้คำศัพท์

4.2.8.5. ความตั้งใจและสมาธิ

4.2.8.5.1. การนับเลขไปข้างหน้าและย้อนกลับ

4.2.8.5.2. การลบเลขทีละ 7 หรือ 3

4.2.8.6. ความคิดเชิงนามธรรม

4.2.8.6.1. การแปลความหมายของสุภาษิต

4.2.8.6.2. การเปรียบเทียบความเหมือนกันของสองสอ่ง

4.3. การตรวจร่างกาย

5. น.ส.ฐิติชญา อินชู 58240200