ขั้นตอนของกระบวนการการพยาบาล ที่มีคุณภาพ
by วรัณญา ทองดี
1. การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
1.1. •การปฏิบัติการพยาบาลตามแผนการพยาบาล
1.2. •การบันทึกทางการพยาบาล
2. การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation )
2.1. พิจารณาการตอบสนองทั้งด้านร่างกายและจิตใจของผู้ป่วย/ครอบครัวที่เป็นผลจาก การทำงานของระบบในร่างกายหรืออวัยวะ
2.2. เน้นการสอนผู้ป่วยรายบุคคลหรือรายกลุ่มเพื่อให้ผู้ป่วยสามารถมีกิจกรรมในชีวิตประจำวันได้ด้วยตัวเอง
2.3. ปรึกษาแพทย์เพื่อให้การรักษาโรค
2.4. มักเกี่ยวข้องกับตัวผู้ป่วยทั้งรายบุคคล ครอบครัว ผู้ดูแล และญาติ
3. การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing Diagnosis
3.1. •การกำหนดข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
3.2. •การกำหนดข้อมูลสนับสนุน
4. การวางแผนการพยาบาล (Planning)
4.1. •การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา
4.2. •การกำหนดเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ของการพยาบาล
4.3. •การกำหนดเกณฑ์การประเมินผลการพยาบาลหรือผลลัพธ์ที่คาดหมาย
4.4. •การกำหนดกิจกรรมการพยาบาล
5. กระบวนการพยาบาล เริ่มใช้และวางแนวคิด ในปี ค.ศ. 1967 – 1987 โดย ยูราและวอลซ์ (Yura and Walsh) เป็นเครื่องมือและวิธีการที่สำคัญของวิชาชีพการพยาบาลในการรวบรวมข้อมูลของผู้รับบริการ เพื่อนำไปสู่การวินิจฉัยการพยาบาล การวางแผนการพยาบาล การปฏิบัติการพยาบาล และการประเมินผลการพยาบาล ซึ่งเป็นระบบการแก้ปัญหาที่มีขั้นตอน โดยแต่ละขั้นตอนจะมีความสัมพันธ์และพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน เพื่อนำไปสู่การตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการ
5.1. ความสำคัญของกระบวนการพยาบาล
5.1.1. แสดงเอกลักษณ์ เอกสิทธิ์ ศาสตร์แห่งวิชาชีพ
5.1.2. เป็นแกนในการปฏิบัติการพยาบาล ทำให้เป็นระบบ มีขั้นตอน ต่อเนื่อง
5.1.3. ช่วยให้พยาบาลได้ใช้ทักษะพื้นฐานต่างๆ
5.1.4. ทำให้มีการบันทึกข้อมูล ควบคุมคุณภาพการพยาบาลได้
5.1.5. สร้างมาตรฐานการพยาบาลแก่ผู้ป่วยแต่ละประเภทได้