การตัรบียะฮฺอนุบาล & ประถม ASSA

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
การตัรบียะฮฺอนุบาล & ประถม ASSA by Mind Map: การตัรบียะฮฺอนุบาล & ประถม ASSA

1. การรู้จักฮาลาลฮารอม

1.1. กิจกรรม Halal - Haram day

2. มีการละหมาดซุนนะฮฺก่อนหลังทั้งอนุบาล-ประถม

3. ความสงบ

4. จัดการบรรยากาศให้เกิดความร่มเย็น

4.1. จัดการเรื่องเสียง

4.1.1. ไม่มีการตะโกนโวยวาย

4.1.2. ไม่มีเสียงไม่พึงประสงค์

4.1.2.1. เสียงด่าทอ

4.1.3. เสียงที่ควรมี

4.1.3.1. เสียงดุอาระหว่างกัน

4.1.3.2. เสียงการอานกุรอาน

4.1.3.3. เสียงการชมเชยระหว่างกัน

4.1.3.4. 99 พระนาม

4.1.3.5. การอ่านอัซการในเวอร์ชั่น และทำนองเดียวกัน

4.1.3.6. เสียงสลามระหว่างกัน

4.1.4. อานดุอาไม่ต้องตะโกน

4.1.4.1. เน้นความพร้อม

4.1.4.2. ออกเสียงทุกคน

4.1.5. การมอบหมายการสั่งของครูไม่ต้องตะโกนหรือเสียงดังโดยใช่เหตุ

4.2. ความร่มรื่น/ร่มเย็น

5. การสอนของครูเน้นที่ตัรบียะฮฺไปในทางเดียวกัน

6. procedure

6.1. มีการกำหนดรูปแบบขั้นตอนของแต่ละกิจกรรม

6.1.1. การเข้าแถว

6.1.1.1. การอัซการในแถว

6.1.2. การเดินเข้าชั้นเรียน

6.1.2.1. เข้าห้องเรียนแล้วละหมาดดูฮา

6.2. การฝึกวินัยการตรงต่อเวลาด้วยสัญญาญเสียง

6.3. การกำหนดตารางแต่ละวันที่ชัดเจน

6.4. การทำความสะอาด เก็บขยะก่อนเข้าเรียน

6.5. การทานอาหาร

6.5.1. อานดุอาก่อน

6.5.2. ครูควบคุมตลอดขั้นตอน

6.5.2.1. ไม่คุยเวลาทานข้าว

6.5.2.2. ทานข้าวให้หมด

6.5.2.3. ไม่เล่นระหว่านทาน

6.6. การเรียนการสอน

6.6.1. รูปแบบการเข้าชั้นเรียน

6.6.2. ต้องใหเซึมซับตามเป้าหมาย/ตัวชี้วัดของการตัรบียะฮฺ ที่กำหนด

6.6.3. ขั้นตอนการสอน

6.6.4. ต้องให้นักเรียนซับซับในบรรยากาศที่ต้องการสร้างที่ต้องการปลูกฝั่ง

6.6.5. สอนด้วยความรัก

6.6.5.1. จบการสอนด้วยการดุอาอฺให้ลูกศิษย์

6.7. การละหมาด

6.7.1. ประถมอ่านเสียงดังเพื่อเป็นการฝึก

6.8. การกลับบ้าน

6.8.1. อ่านดุอาอฺก่อนกลับ

6.8.2. อ่านอัซการก่อนกลับ

7. เนื่อหา

7.1. มีการกำหนดฮะดิษ และจำนวนฮะดิษเป็นตัวชี้วัดว่าแต่ละระดับชั้นนั้น มีฮะดิษอะไ้บ้างที่ต้องท่อง และจำนวนกี่ฮะดิษ

7.2. การบริจาค

7.2.1. เป้าหมาย

7.2.1.1. มีตู้รับบริจาค

7.2.1.2. บริจาคนักเรยนยากไร้ในโรงเรียน

7.2.2. รูปแบบ

7.2.2.1. ศุกร์ละบาท

7.2.3. มีการนำเงินส่วนนี้ให้เด็กยากไร้

7.2.3.1. มาจากนร.

7.2.3.2. มาจากครู

8. กำหนดเป้าหมายในการตัรบียะฮฺ

8.1. 1. อิลมีย์ การสอนในคาบเรียน

8.2. 2. คูลูกีย์-อัคลากต่างๆ

8.3. 3. อาชีพ ด้วยชุมนุม

8.3.1. เน้นเรื่องการปฏิบัติและให้เห็นภาพจริง

8.3.2. อาชีพกล้วยๆ

8.4. 5. อากอดีย์

8.4.1. มอบหมายให้กลุ่มสาระสอนทุกวิชาให้รู้จักอัลลอฮฺ

8.5. 4. ญิสมีย์ สุขภาพที่แข็งแรง

8.5.1. สนุกเต็มที่

8.5.2. เล่นเต็มที่

8.5.2.1. เรียนเต็มที

8.6. การตัรบียะฮฺต้องสื่อไปถึงผู้ปกครองมีการเปลี่ยนแปลงด้วย

9. การสร้างบรรยากาศ

9.1. ร้นอาหาร

9.1.1. มีเรื่องฮาลาลและตอยยิบันเท่านั้น

9.2. มีสถานที่สำหรับทำฮะลาเกาะ

9.3. การเป็นแบบอย่าง

9.3.1. โดยเฉพาะการละหมาดญะมาอะฮฺ

9.4. ความเรียบร้อย

9.5. ความสะอาด

9.6. สร้างวินัยเชิงบวก

10. จบแล้วสลับยุซไป เรื่อยๆ จนต่ละคนครบ 30 ยุซ

11. สื่อสารกับนักเรียนโดยตรงบ้าง

12. มีแบบประเมินคุณภาพอีบาดะฮฺ

13. วันแม่

14. กำหนดคอนเซปให้เหมาะสมแต่ละระดับชั้น

14.1. ป.6 เตรียมความพร้อมสู่การจบและเรียนต่อม. 1

14.2. ความรับผิดชอบ

15. การขับเคลื่อนตัรบียะฮฺนักเรียน

15.1. ผู้บริหารเริ่มก่อน

15.1.1. บริจาคก่อน

15.1.2. มามัสยิดก่อน

15.2. ครูทำตามผู้บริหาร

15.3. ลงไปสู่ให้นร.ทำตาม

15.4. เนื้อหาทุกอย่าง ที่จะให้นร.รู้ครูต้องรู้ก่อน

15.4.1. ฮะดิษ

15.4.2. กุรอาน

15.4.3. ดุอา

15.4.4. ฯลฯ

16. เส้นทางสู่ความสำเร็จของ เมาดูดี

17. สร้างวัฒนธรรมการทำงานของครูที่ไม่ต้องสั่ง

18. เครือข่ายระหว่างโรงเรียน

18.1. KM ประจำเดือน/ประจำภาค

19. ขั้นตอนการฝึกนักเรียนตามลำดับ

19.1. 1. กำหนดยูนิฟอร์ม

19.2. 2. การสอนดุอาอฺต่างๆ

19.2.1. 3. การปลูกฝั่งเรื่องละหมาด เช่นซุฮรี

20. วาซาอิล

20.1. ค่าย 2 ครั้ง / ปี

20.1.1. บูรณาการสหวิทยาการ

20.2. Halakah

20.2.1. จัดระดับ ป.4-6

20.2.1.1. บรรจุในตารางสอน

20.3. Riahlah

20.4. Kiyam

20.5. เดาเราะห์

20.5.1. นักเรียน ป.ต้น

20.5.2. เนื้อหาตามวาระ

20.5.2.1. การละหมาด

21. การพัฒนาครูเพื่อการขับเคลื่อตัรบียะฮฺ

21.1. พูดคุยตักเตือนครูตลอดเวลาต่อเนื่อง

21.1.1. เพื่อการตัรบียะฮฺ

21.1.2. ปลูกฝั่งการรักลูกศิษย์ อยู่ตลอดเวลา

21.2. ตามวาซาอีล

21.2.1. แบ่งกันอ่าน แบ่งกันเล่า

21.3. กำหนดหนังสือให้ครูอ่าน เพื่อความเข้าใจตรงกัน

21.3.1. หนังสือที่อ่านคือ

21.3.1.1. อะไรคือภารกิจของการทำงานอิสลามของฉัน ฟัตฮียะกัน

21.3.1.2. เสวนาชีวิต ชีวิตเสวนา อ.ชาตรี สำราญ

21.4. 1 สัปดาห์ 1 คอตัมกุรอาน

21.4.1. แบ่งอ่านคนละยุซหนึงสัปดาห์

22. การบริหาร

22.1. ผู้บริหารลงหน้างานเอง

22.1.1. คุยกับนักเรียนโดยตรง

22.2. การประสานกับผู้ปกครองต่อเนื่อง

22.3. ผู้บริหารเป็นแบบอย่าง/ต้องทำก่อน

22.4. เน้นติดตามงานครูต่อเนื่องใกล้ชิด

22.4.1. ปลูกฝั่งความรักระหว่างกันของครู

22.5. มีการเทรนแกนนำนักเรียนเข้มข้นเป็นการเฉพาะ

22.6. สร้างความเข้าใจตรงกันของครู ในทุกอย่างทุกขั้นตอน

23. การสร้างเครือข่าย

23.1. ผู้ปกครอง

23.1.1. โครงการพ่อแม่มืออาชีพ

23.1.2. เยี่ยมเยียนผู้ปกครอง

23.1.3. มุลตะกอผู้ปกครอง

23.1.4. สัมภาษณ์ผู้ปกครองก่อนรับนร.

23.1.5. กิจกรรมหน้าที่ของพ่อ-แม่

23.1.6. กิจกรรมให้ความรู้กับผู้ปกครอง เดือนละครั้ง

24. การวัดและประเมิน

24.1. กำหนดตัวชีวัดเพื่อการประเมินชัดเจนในแต่ละระดับชั้น

24.1.1. ทักษะอะไรบ้าง

24.1.2. ฮะดิษอะไรบ้าง

24.1.2.1. กี่ฮะดิษ

24.1.3. อัลกุรอานซูเราะอะไร กี่อายะฮฺ

24.1.4. ดุอาอฺอะไรบ้าง

24.1.4.1. 40 รอบบานา

24.1.4.2. 40 ฮะดิษ

24.1.5. อัคลาคต่ออะไรบ้าง

24.1.6. ความน้อบร้อม/ถ่อมตน

24.2. มีสมุดบันทึกความดี

24.2.1. ให้พ่อแม่ลงนามรับรอง

24.2.2. เป็นการประเมินของพ่อแม่เป็นหลัก

24.2.3. 1 วัน 1 ความดี

24.3. วิธีการประเมิน

24.3.1. ประเมินเป็นรายวัน/สัปดาห์/เดือน/ภาค

24.3.2. ตั้งคณะกรรมการ QC

24.4. มีคู่มือ QC