บทที่ 2 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับนวัตกรรม เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
บทที่ 2 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับนวัตกรรม เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา by Mind Map: บทที่ 2 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับนวัตกรรม เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา

1. จิตวิทยาการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์

1.1. ความหมาย/ข้อสังเกต

1.1.1. การเรียนรู้เกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนสร้างความรู้อย่างตื่นตัวด้วยตนเองโดยพยายามสร้างความเข้าใจนอกเหนือเนื้อหาความรู้ที่ได้รับ การแทนสิ่งแทนความรู้ซึ่งต้องอาศัยการเชื่อมโยงกับประสบการณ์เดิมของตนเอง

1.1.2. สร้างสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์อย่างมีความหมายกับเนื้อหา สื่อ ตลอดจนแหล่งเรียนรู้ทั้งหลายที่อยู่รอบตัวผู้เรียน

1.2. เทคโนโลยีการศึกษาได้นำทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ที่สาคัญ

1.2.1. ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เชิงปัญญา

1.2.1.1. มนุษย์เราต้อง “สร้าง”ความรู้ด้วยตนเองโดยผ่านทางประสบการณ์

1.2.1.2. เปลี่ยนแปลงได้ (Change) ขยาย(Enlarge) และซับซ้อนขึ้นได้ โดยผ่านทางกระบวนการดูดซึม (Assimilation) และการปรับเปลี่ยน (Accommodation)

1.2.2. ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เชิงสังคม

1.2.2.1. เรียนรู้และสร้างความรู้เองได้ด้วยตนเองโดยไม่ต้องได้รับการช่วยเหลือ

1.2.2.2. การเรียนรู้จะเกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนสร้างสิ่งที่แทนความรู้ในความจา ในระยะทางาน

1.3. ลักษณะที่สาคัญของการออกแบบสื่อตามแนวพุทธิปัญญา

1.3.1. ส่งเสริมให้ผู้เรียนเห็นมุมมองและตัวแทนความคิดรวบยอดของเนื้อหาที่หลากหลาย

1.3.2. เป้าหมายและวัตถุประสงค์ของการเรียนได้มาจากผู้เรียนหรือการเจรจาร่วมกับผู้สอน

1.3.3. ผู้สอนให้บริการในบทบาทของผู้แนะนา ผู้กำกับ โค้ช และผู้อานวยความสะดวกในการเรียน

1.3.4. ผู้เรียนต้องมีบทบาทสาคัญในการใช้สื่อ และควบคุมการเรียนรู้ด้วยตนเอง

1.3.5. กิจกรรม โอกาส เครื่องมือและสิ่งแวดล้อมต่างๆวิธีการเรียนรู้ โดยอาศัยความคิดของตนเอง

1.3.6. สถานการณ์เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม ทักษะ เนื้อหาและภารกิจ จะเกี่ยวข้องกับสภาพจริง และสอดคล้องกับบริบทจริง

1.3.7. ข้อมูลแหล่งเรียนจะถูกใช้เพื่อที่จะทาให้เกิดความมั่นใจในสภาพจริง

1.3.8. การสร้างความรู้เป็นสิ่งที่มุ่งเน้นในการเรียนรู้ ไม่ใช่การคัดลอกความรู้

1.3.9. สังคมการร่วมมือการเรียนรู้และการมีประสบการณ์ร่วมกัน

1.3.10. การสร้างความรู้เดิมของผู้เรียน ความเชื่อและเจตคติ จะเป็นสิ่งสาคัญที่นามาพิจารณาในกระบวนการสร้างความรู้ใหม่

1.3.11. 11.เป็นกระบวนการที่มุ่งเน้นการแก้ปัญหา ทักษะการคิดขั้นสูง และความเข้าใจที่ลึกซึ้ง

1.3.12. เป็นกระบวนการที่มุ่งเน้นการแก้ปัญหา ทักษะการคิดขั้นสูง และความเข้าใจที่ลึกซึ้ง

1.3.13. ส่งเสริมให้ผู้เรียนค้นหาความรู้ด้วยตนเอง และจัดการเกี่ยวกับตนเองเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย

1.3.14. การร่วมมือกันแก้ปัญหาและการเรียนแบบร่วมมือเป็นที่นิยม

1.3.15. ฐานการช่วยเหลือถูกจัดไปเอื้ออานวยเพื่อช่วยผู้เรียนให้สามารถข้ามข้อจากัดทางการเรียนรู้

1.3.16. การประเมินเป็นการประเมินตามสภาพจริง

2. จิตวิทยาการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม

2.1. แนวคิดการเรียนรู้

2.1.1. วิจัยพฤติกรรมการเรียนรู้ของสัตว์ในห้องทดลอง

2.2. การเรียนรู้ตามแนวพฤติกรรมนิยม

2.2.1. บทบาทของผู้เรียน

2.2.1.1. เป็นผู้ที่รอรับ (Passively) (Passively) ความรู้ตลอดจนสิ่งเร้าต่างๆที่จัดให้ในขณะที่เรียนรู้ เช่น รางวัล การลงโทษ หรือแม้แต่แรงเสริม เป็นต้น

2.2.2. บทบาทของครู

2.2.2.1. เป็นผู้บริหารจัดการสิ่งเร้าที่จะให้ผู้เรียน เช่น การทาแบบฝึกหัดซ้าๆ(drill and practice)การเสริมแรง (Reinforcement) (Reinforcement) (Reinforcement) เป็นต้น

2.3. เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาตามแนวพฤติกรรมนิยม

2.3.1. การออกแบบเพื่อให้ผู้เรียนสามารถจดจาความรู้

2.3.2. ผู้เรียนเป็นผู้รับข้อมูลสารสนเทศ

2.3.3. ครูจะเป็นผู้นาเสนอข้อมูลสารสนเทศ เช่น ตาราเรียน การบรรยาย

2.3.4. บทเรียนโปรแกรม ชุดการสอน และบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

2.4. ลักษณะที่สาคัญของการออกแบบสื่อตามแนวพฤติกรรมนิยม

2.4.1. ระบุวัตถุประสงค์การสอนที่ชัดเจน

2.4.2. การสอนในแต่ละขั้นตอน นาไปสู่การเรียนแบบรอบรู้ในหน่วยการสอนรวม

2.4.3. ให้ผู้เรียนได้เรียนไปตามอัตราการเรียนรู้ของตนเอง

2.4.4. ดำเนินการสอนไปตามโปรแกรมหรือลำดับขั้นที่กาหนดไว้ จากง่ายไปยาก

2.4.5. การออกแบบการเรียนเป็นลักษณะเชิงเส้นที่เป็นลาดับขั้นตอน

2.4.6. การให้ผลตอบกลับทันทีทันใด เมื่อผู้เรียนกระทาพฤติกรรมนั้นเสร็จจะได้รับผลกลับพร้อมทั้งแรงเสริมทันทีทันใดในขณะที่เรียนรู้

2.5. ความหมาย/ข้องสังเกต

2.5.1. การเรียนรู้จะเกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนสร้างความเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง ซึ่งถ้าหากได้รับการเสริมแรงจะทาให้มีการแสดงพฤติกรรมนั้นถี่มากขึ้น

2.5.2. มุ่งที่ศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้า กับการตอบสนอง หรือพฤติกรรมที่แสดงออกมา ซึ่งจะให้ความสนใจกับพฤติกรรมที่สามารถ เพราะเชื่อว่าสิ่งแวดล้อมจะเป็นตัวกาหนดพฤติกรรม

3. จิตวิทยาการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยม

3.1. ความหมาย/ข้อสังเกต

3.1.1. เชื่อว่าการเรียนรู้เป็นสิ่งที่มากกว่าผลของการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าการตอบสนอง โดยให้ความสนใจในกระบวนการภายในที่เรียกว่า ความรู้ความเข้าใจหรือการรู้คิดของมนุษย์

3.1.2. ให้ความหมายว่า การเปลี่ยนแปลงความรู้ของผู้เรียนทั้งทางด้านปริมาณและด้านคุณภาพคือ นอกจากผู้เรียนจะมีสิ่งที่เรียนรู้เพิ่มขึ้นแล้ว ยังสามารถจัดรวบรวมเรียบเรียง สิ่งที่เรียนรู้เหล่านั้นให้เป็นระเบียบ เพื่อให้สามารถเรียกกลับมาใช้ได้ตามที่ต้องการและสามารถถ่ายโยงความรู้และทักษะเดิม หรือสิ่งที่เรียนรู้มาแล้วไปสู่บริบทและปัญหาใหม่

3.1.3. การเรียนรู้ตามแนวคิดนี้จะเกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนสามารถวางสารสนเทศใหม่ในความจาระยะยาวซึ่งจะแตกต่างกันกับการเรียนรู้ของพฤติกรรมนิยมที่จะอธิบายเพียงเฉพาะพฤติกรรมภายนอกที่แสดงออกมา

3.2. เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาตามแนวพุทธิปัญญานิยม

3.2.1. ออกแบบเทคโนโลยีและสื่อตามแนวคิด เป็นการเปลี่ยนแปลงความรู้ของผู้เรียน ทั้งทางด้านปริมาณและคุณภาพ

3.2.2. เป็นการเปลี่ยนแปลงความรู้ของผู้เรียน ทั้งทางด้านปริมาณและคุณภาพ

3.3. การเรียนรู้ตามแนวพุทธิปัญญานิยม

3.3.1. จัดรวบรวมเรียบเรียงสิ่งที่เรียนรู้เหล่านั้นให้เป็นระเบียบ

3.3.2. สามารถถ่ายโยงความรู้และทักษะเดิม หรือสิ่งที่เรียนรู้มาแล้วไปสู่บริบทและปัญหาใหม่

3.4. ลักษณะที่สาคัญของการออกแบบสื่อตามแนวพุทธิปัญญา

3.4.1. จัดระเบียบสารสนเทศใหม่และสร้างโครงสร้างสารสนเทศจะช่วยให้ผู้เรียนสามารถสร้างความเข้าใจในหน่วยความจาได้ง่าย

3.4.2. สร้างความเชื่อมโยงระหว่างสารสนเทศใหม่กับความรู้เดิมให้ผู้เรียนเรียนรู้ได้อย่างมีความหมายและเกิดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ

3.4.3. ใช้เทคนิคเพื่อแนะนาและสนับสนุน

3.4.3.1. การมุ่งเน้นคาถาม (Focusing question)

3.4.3.2. การเน้นคาหรือข้อความ(Highlighting)

3.4.3.3. การสร้างภาพ (Imagery)

3.4.3.4. การใช้ Mnemonic

3.4.3.4.1. เป็นการให้จำแบ สระไอไม้ม้วน สระไอไม้มะลาย