ประเภทของระบบสารสนเทศ

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
ประเภทของระบบสารสนเทศ by Mind Map: ประเภทของระบบสารสนเทศ

1. 3.ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System : MIS)

1.1. หมายถึง ระบบที่รวบรวมและจัดเก็บข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆทั้งภายใน และภายนอกองค์การอย่างมีหลักเกณฑ์ เพื่อนำมาประมวลผลและจัดรูปแบบให้ได้สารสนเทศที่ช่วยสนับสนุนการทำงาน

1.1.1. หน้าที่หลักของ MIS

1.1.1.1. 1.สามารถเก็บรวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกองค์การมาไว้ด้วยกันอย่างเป็นระบบ

1.1.1.2. 2. สามารถทำการประมวลผลข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้ได้สารสนเทศที่ช่วยสนับสนุนการปฎิบัติงานและการบริหารงานของผู้บริหาร

1.1.2. เครื่องมือในการสร้างระบบสารสนเทศ

1.1.2.1. 1.ฐานข้อมูล (Data Base) จัดเป็นหัวใจสำคัญของระบบ MIS เพราะว่าสารสนเทศที่มีคุณภาพจะมาจากข้อมูลที่ดี เชื่อถือได้ ทันสมัยและถูกจัดเก็บอย่างเป็นระบบ

1.1.2.2. เครื่องมือ (Tools) เป็นเครื่องมือที่ใช้จัดเก็บและประมวลผลข้อมูล ปกติระบบสารสนเทศจะใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เป็น อุปกรณ์หลักในการจัดข้อมูล

1.1.2.2.1. อุปกรณ์ (Hardware) คือ ตัวเครื่องหรือส่วนประกอบของเครื่องคอมพิวเตอร์ รวมทั้งอุปกรณ์ ระบบเครือข่าย

1.1.2.2.2. ชุดคำสั่ง (Software) คือ ชุดคำสั่งที่ทำหน้าที่รวบรวม และจัดการ เก็บข้อมูลเพื่อใช้ในการ บริหารงาน หรือการตัดสินใจ

1.1.2.3. 2.วิธิการหรือขั้นตอนการประมวลผล การที่จะได้ผลลับตามที่ต้องการ จะต้องมีการจัดลำดับ วางแผนงานและวิธีการประมวลผลให้ถูกต้อง เพื่อให้ได้ขอมูลที่ต้องการ

1.1.2.4. 3.การแสดงผลลัพธ์ เมื่อข้อมูลได้ผ่ารการประมวลผล ตามวิธีการแล้วจะได้ สารสนเทศ

1.1.3. คุณสมบัติที่สำคัญของ MIS

1.1.3.1. 1. ความสามารถในการจัดการข้อมูล (Data Manipulation) ระบบสารสนเทศที่ดีต้องสามารถปรับปรุงแก้ไขให้มีประสิทธิภาพ

1.1.3.2. 2. ความปลอดภัยของข้อมูล (Data Security) ถ้าระบบสารสนเทศบางประเภทรั่วไหลออกไปสู่บุคคลภาย อาจทำให้เกิดความเสียโอกาสทางการแข่งขัน

1.1.3.3. 3. ความยืดหยุ่น (Flexibility) สภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้ระบบสารสนเทศที่ดีต้องมีความสามารถในการปรับตัวให้สอดคล้องกับการใช้งานหรือปัญหาที่เกิดขึ้น

1.1.3.4. 4. ความพอใจของผู้ใช้ (User Satisfaction) ระบบสารสนเทศที่ดีจะต้องกระตุ้นหรือโน้มน้าวให้ผู้ใช้หันมาใช้ระบบให้มากขึ้น

2. 4. ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร (Executive Information Systems : EIS)

2.1. คุณสมบัติสมคัญของ EIS

2.1.1. 1. สนับสนุนการวางแผนกลยุทธ์ (Strategic Planning Support) ผู้พัฒนาจะต้องมีความรู้ในเรื่องกลยุทธ์ธุรกิจและปัจจัยสำคัญในการวางแผนกลยุทธ์

2.1.2. 2.เชื่อมโยงกับสิ่งแวดล้อมภายนอกองค์กร (External Environment Focus) EIS ที่ดี จะต้องมีการใช้ฐานข้อมูลขององค์การได้อย่างรวดเร็วแล้วยังต้องออกแบบให้สามารถเชื่องโยงกับแหล่งข้อมูลที่มาจากภายนอกองค์การ

2.1.3. 3. มีความสามารถในการคำนวนภาพกว้าง (ฺBroad-based Computing Capabilities) ผู้บริหารส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับปํญหาที่มีโครงสร้างไม่แน่นอนและขาดความชัดเจ

2.1.4. 4. ง่ายต่อการเรียนรู้และใช้งาน (Exceptional Ease of Learning and Use) การพัฒนา EIS จะต้องเลือกรูบแบบ การแสดงผลหรือการโต้ตอบกับผู้ใช้แนวทางที่ง่ายต่อการใช้งาน

2.2. ข้อดีของระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร

2.2.1. 1. ง่ายต่อการใช้งานของผู้ใช้โดยเฉพาะผู้บริหารระดับสูง

2.2.2. 2. ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องมีความรู้อย่างลึกซึ้งในเรื่องคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

2.2.3. 3. ค้นหาสารสนเทศที่ต้องการได้ในเวลาสั้น

2.2.4. 4. ช่วยให้ผู้ใช้เข้าใจสารสนเทศที่นำดสนออย่างชัดเจน

2.2.5. 5. ประหยัดเวลาในการดำเนินงานและการตัดสินใจ

2.2.6. 6. สามารถติดตามและจัดการสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ

2.3. ข้อจำกัดของระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร

2.3.1. 1. มีข้อจำกัดในการใช้งาน

2.3.2. 2. ข้อมูลและการนำเสนออาจไม่สอดคล้องกับความต้องการของผูบริหาร

2.3.3. 3. ยากต่อการประเมินประโยชน์และผลตอบแทนที่องค์การจะได้รับ

2.3.4. 4. ไม่ถูกพัฒนาให้ทำการประมวลผลที่ซับซ้อนและหลากหลาย

2.3.5. 5. ซับซ้อนและยากต่อการจัดการข้อมูล

2.3.6. 6. ยากต่อการรักษาความทันสมัยของข้อมูลและระบบ

2.3.7. 7. ปัญหาด้านการรักษาความลับของข้อมูล

3. 1.ระบบสำนักงานอัตโนมัติ

3.1. หมายถึง ระบบสารสนเทศที่สร้าง มาเก็บข้อมูล ปรับปรุงข้อมูล แสดงภาพ และติดต่อสื่อสารระบบธุรกิจ โดยการใช้ระบบคอมพิวเตอร์และระบบเทคโนโลยีการสื่อสาร เข้ามาช่วยแทนการพูด เขียน หรือส่งรูปภาพแบบเดิมเป็นระบบที่สนับสนุนงานในสำนักงาน หรืองานธุรการของหน่วยงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น

3.1.1. ระบบสำนักงานอัตโนมัติ

3.1.1.1. 1.ระบบจัดการเอกสาร

3.1.1.2. 2.ระบบจัดการด้านข่าวสาร

3.1.1.3. 3.ระบบประชุมทางไกล

3.1.1.4. 4.ระบบสนับสนุนสำนักงาน

3.1.2. องค์ประกอบสำคัญ

3.1.2.1. 1.Network System คือ ระบบข่ายงานที่เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ระหว่างกันทั่วองค์กร

3.1.2.2. 2.Electronic Data Interchange คือ การสื่อสารข้อมูลข่าวสารระหว่างกันโดยอาศัยสัญญานข้อมูลข่าวสารแบบ อิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบเครือข่าย

3.1.2.3. 3. Internet คือ การรวมตัวกันของระบบเครือข่ายข้อ1 ที่กระจายอยู่ทั่วจนกลายเป็นเครือข่ายขนาดใหญ่

3.1.2.3.1. Post of Sale (POS)

3.1.2.3.2. Electronic Funds Transfer (EFT)

4. 2.ระบบประมวลผลรายการ Transaction Processing Systems:TPS

4.1. หมายถึง ระบบสารสนเทศที่ใช้ในการเปลี่ยนข้อมูลดิบจากการปฎิบัติงานให้อยู่ในรูปแบบที่เครื่องจักรสามารถอ่านได้, เก็บรายละเอียดรายการ, ประมวลผลรายการและสั่งพิมพ์รายละเอียดรายการ

4.1.1. แบ่งตามวิธีการประมวลผลข้อมูล

4.1.1.1. 1 ระบบประมวลผลแบบกลุ่ม (Batch Processing System)

4.1.1.2. 2 ระบบประมวลผลแบบออฟไลน์ (Online Processing System)

4.1.1.2.1. การประมวลผลเชิงรายการ (Transactional Processing)

4.1.1.2.2. การประมวลผลแบบทันที (Real-time Processing)

5. 5. ปํญญาประดิษฐ์ (artificial Intelligence : AI)

5.1. ความหมาย ศาสตร์แขนงหนึ่งทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีพื้นฐานมาจากวิชาวิทยา เป้าหมายคือ การพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ให้มีพฤติกรรมเลียนแบบมนุษย์ ตั้งแต่เห็น ฟัง เดิน พูด และรู้สึก

5.1.1. ลักษณะของงานปัญญาประดิษฐ์

5.1.1.1. 1. Cognitive Science ประกอบด้วย ระบบผู้เชี่ยวชาญ หรือ ระบบงานความรู้ ระบบเครือข่าย

5.1.1.2. 2. Robotics เป็นงานซึ่งพัฒนาบนพื้นฐานของวิศวกรรมและสรีรศาสตร์ และเป็นการพยายามสร้างหุ่นยนต์ให้มีความฉลาดและถูกควบคุม

5.1.1.3. 3. Natural interface เป็นงานซึ่งเน้นการพัฒนาเพื่อให้คอมพิวเตอร์ สามารถเข้าใจในสิ่งที่เป็นธรรมชาติของมนุษณ์ เพื่อให้ใช้งานได้อย่างสะดวก

5.1.2. ประโยชน์ของปัญญาประดิษฐ์

5.1.2.1. 1. ข้อมูล จะถูกเก็บในลักษณะที่เป็นฐานความรู้ขององค์การ พนักงานสามารถเข้าไป สืบค้นและหาคำตอบหรือหาคำปรึกษาได้ทุกเวลา

5.1.2.2. 2. เพิ่มความสามารถให้กับฐาน ความรู้ของขององค์การด้านด้วยการเสนอวิธีการแก้ปัญหาสำหรับงานเฉพาะด้าน

5.1.2.3. 3. ช่วยทำงานในส่วนที่เป็นงานประจำหรืองานประจำหรืองานที่เบื่อหน่ายของมนุษย์

5.1.2.4. 4. ช่วยสร้างกลไกที่ไม่นำความรู้สึกส่วนตัวของมนุษย์มาเป็นองค์ประกอบในการตัดสินใจ