Get Started. It's Free
or sign up with your email address
CA Esophagus by Mind Map: CA Esophagus

1. ปัจจัยเสี่ยง

1.1. การสูบบุหรี่

1.2. การดื่มเหล้า

1.3. ไนโตรซามีน

1.4. เส้นใยหิน

1.5. ผลิตภัณฑ์ปิโตเลียม

2. อาการและอาการแสดง

2.1. กลืนลำบาก

2.1.1. รู้สึกติด

2.1.2. กลืนแล้วเจ็บ

2.2. สำลักเวลากลืน

2.3. ไอขณะกิน

2.4. มีน้ำลายหรือเสมหะปนเลือดหรืออาเจียนเป็นเลือด

2.5. อ่อนเพลีย

2.6. น้ำหนักลด

2.7. เสียงแหบลง

3. การวินิจฉัยโรค

3.1. ประวัติอาการ

3.2. ตรวจร่างกาย

3.2.1. ระยะลุกลาม

3.2.1.1. ต่อมน้ำเหลืองที่ไหปลาร้าหรือที่คอโต

3.2.1.2. ปวดหลัง

3.2.2. เอ็กซเรย์

3.2.2.1. การกลืนแป้ง

3.2.2.2. CT scan

3.2.2.3. ปอด

3.2.2.4. ช่องท้อง

3.2.3. ส่องกล้องและตัดชิ้นเนื้อ

3.2.4. ตรวจเลือดCBC

3.2.5. Kidney function test

3.2.6. Liver function test

4. การรักษา

4.1. ผ่าตัด

4.1.1. ให้อาหารทางสายยาง

4.1.2. สายให้อาหารบริเวณหน้าท้องเข้าสู่กระเพาะอาหาร หรือลำไส้เล็ก

4.2. ฉายรังสีรักษา

4.2.1. เพื่อควบคุมโรค

4.2.1.1. มักรักษาในผู้ป่วยระยะลุกลามไม่มาก

4.2.1.2. โดยมักร่วมกับการรักษาอื่นๆคือ ยาเคมีบำบัด และ/หรือ การผ่าตัด

4.2.2. เพื่อประคับประคองอาการ

4.2.2.1. รักษาในผู้ป่วยที่ไม่สามารถผ่าตัดได้เนื่องจากมะเร็งลุกลามมาก

4.3. ยาเคมีบำบัด

5. สาเหตุ

5.1. ความผิดปกติของพันธุ์กรรม

5.2. การสูบบุหรี่/ดื่มสุรา

5.3. การบริโภคอาหารไม่ครบ5หมู่

5.4. บริโอาหารที่มีสารไนโตรโซ

5.4.1. เนื้อสัตว์ที่ใส่สารนี้เป็นสารกันบูด

5.4.2. ปลาทะเลย่าง

5.4.3. ปลาหมึกย่าง

5.5. อาจเกิดจากโรคกรดไหลย้อน

5.6. อาจเกิดจากการติดเชื้อแคทีเรียของหลอดอาหาร

5.7. อาจเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของเซลล์เยื่อบุหลอดอาหาร

6. มี 4 ระยะ

6.1. ระยะที่ 1ก้อนมะเร็งมีขนาดเล็ก อยู่เฉพาะภายในหลอดอาหาร

6.2. ระยะที่ 2ก้อนมะเร็งลุกลามถึงเนื้อเยื่อชั้นนอกของหลอดอาหาร และ/หรือลุกลามเข้าต่อมน้ำเหลืองใกล้เคียง 1-2 ต่อม

6.3. ระยะที่ 3ก้อนมะเร็งลุกลามออกมาทะลุเนื้อเยื่อชั้นนอกของหลอดอาหารเข้าสู่อวัยวะ /เนื้อเยื่อข้างเคียง และ/หรือ มีการลุกลามไปต่อมน้ำเหลืองใกล้เคียงมากกว่า 2 ต่อมขึ้นไป

6.4. ระยะที่ 4โรคมะเร็งแพร่กระจายเข้าต่อมน้ำเหลืองไกลๆ เช่น ในช่องท้อง ไหปลาร้า หรือที่คอ