digital intelligence quotient

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
digital intelligence quotient by Mind Map: digital intelligence quotient

1. Digital Use การเข้าถึงและความสามารถในการใช้ดิจิตอล

1.1. Community participation การมีส่วนร่วมของชุมชน

1.1.1. คือ การที่เราได้ช่วยเหลืองานในชุมชนของเรา

1.2. Digital health สุขภาพการแพทย์ดิจิทัล

1.2.1. โรงพยาบาล หรือ เห็นคนใส่เสื้อกาวน์สีขาว บางคนถึงกับกลัวจนความดันขึ้นเลยก็มี หรือที่เราเรียกกันว่า โรคกลัวเสื้อกาวน์ (White coat hypertension) และนั่นก็เป็นอีกหนึ่งสาเหตุที่ทำให้คนไทยไม่ค่อยชอบไปตรวจสุขภาพที่โรงพยาบาล คงจะดีไม่น้อย ถ้าเราทำให้การดูแลสุขภาพเป็นเรื่องไม่ไกลตัวอีกต่อไปด้วยการใช้ “พยาบาลอิเล็กทรอนิกส์”า

1.3. Screen time การใช้เวลาหน้าจอ

1.3.1. การที่คนเราใช้เวลาอยู่กับหน้าจอเป็นเวลานาน

2. Digital Safety การจัดการความปลอดภัยดิจิทัล

2.1. Behavioral risks ความเสี่ยงจากพฤติกรรม

2.1.1. เมื่อเข้าไปในบางเว็บไซต์ มีความเป็นไปได้ที่จะเด็กจะเจอกับสิ่งที่ไม่เหมาะสมโดยไม่ได้ตั้งใจ เช่น โฆษณาชวนเชื่อ ข้อความรุนแรงในเว็บบอร์ด เรื่องเกี่ยวกับเซ็กซ์ภาพอนาจาร ลิงค์ไปยังเว็บไซต์ลามก รวมไปถึงกิจกรรมมอมเมาเยาวชน และสิ่งผิดกฎหมายทั้งหลายการละเมิดสิทธิส่วนบุคคล และการทำร้ายร่างกาย

2.2. Content risks ความเสี่ยงจากเนื้อหา

2.2.1. การใช้อินเทอร์เน็ตนั้นก่อประโยชน์มหาศาล แต่ก็แอบแฝงไปด้วยภัยอันตรายต่างๆ มากมาย ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของการเข้าถึงข้อมูลที่ไม่เหมาะสำหรับเด็ก ค่านิยมผิด ๆ ในเรื่ องเพศ การล่อลวงในวงสนทนา นอกจากนี้ยังมีเว็บไซต์ที่เต็มไปด้วยเรื่องลามก และเรื่องรุนแรงต่าง ๆ ที่ยากต่อการที่จะควบคุมตรวจสอบได้

2.3. Contact risks ความเสี่ยงจากการติดต่อพบปะ

2.3.1. เมื่อเกิดการพูดคุย หรือการแชท (Chat) เกิดขึ้น เด็กอาจจะถูกล่อหลอกให้บอกข้อมูลส่วนตัวทั้งของตนเอง และของครอบครัว ซึ่งมิจฉาชีพจะนำไปหาผลประโยชน์ และอาจก่อความเสียหายร้ายแรงได้ หรืออีกในกรณี เด็กอาจจะถูกชักชวนให้ไปนัดพบกับเพื่อนในอินเทอร์เน็ต อาจเกิดการล่อลวงไปทำมิดีมิร้ายได้ และเกิดอาชญากรรมตามมาถ้อยคำรุนแรง

3. Digital ldentity อัตลักษณ์ดิจิทัล

3.1. Digital citizen พลเมืองดิจิทัล

3.1.1. การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างสม่ำเสมอและมีประสิทธิภาพเป็นคุณลักษณะเบื้องต้นของการเป็นพลเมืองในยุคดิจิทัลนอกจากนี้บุคคลผู้นั้นจะต้องมีทักษะและความรู้ ที่หลากหลายในการใช้อินเทอร์เน็ตผ่านอุปกรณ์และช่องทางการสื่อสารประเภทต่างๆ เช่น โซเชียลเนตเวิร์ก (Facebook, Twitter, Instagram, Line)า

3.2. Digital co-creneur ผู้ร่วมสร้างดิจิทัล

3.2.1. คือ คนที่ช่วยสร้างและออกแบบ

3.3. Digital entrepreneur ผู้ประกอบการดิจิทัล

3.3.1. คนที่เป็นผู้ดูแล

4. Digital Security ระบบความปลอดภัยดิจิทัล

4.1. Password protection การป้องกันรหัสผ่าน

4.1.1. รหัสผ่านเป็นมาตรการขั้นแรกของการป้องกันอาชญากรไซเบอร์ เป็นเรื่องสำคัญยิ่งในการเลือกรหัสผ่านที่แข็งแกร่งที่แตกต่างกันสำหรับแต่ละบัญชีสำคัญของคุณ และการอัปเดตรหัสผ่านของคุณเป็นประจำก็เป็นสิ่งที่ควรปฏิบัติ

4.2. Internet security ระบบความปลอดภัยทางอินเทอร์เน็ต

4.2.1. มีหน้าที่ป้องกันการโจมตีหรือสิ่งไม่พึงประสงค์บุกรุคเข้าสู่ระบบ Network ซึ่งเกี่ยวกับการรักษาความปลอดภัยภายในระบบ Network

4.3. Mobile security ระบบความปลอดภัยบนมือถือ

4.3.1. ข้อดี มันมีความหลากหลายและสามารถสลับเปลี่ยนได้ทั้งตัวเลขตัวอักษร หรืออักขระแปลก ๆ ได้เช่นกัน แต่ข้อเสียคือ มันก็มีสิทธิ์ที่จะถูก Hack ได้และแน่นอนว่า รหัสยากไป ก็เปิดเครื่องไม่ได้ ถ้าง่ายไปก็คนอื่นอาจจะคาดเดาได้ง่ายเช่นกัน

5. Digital Rights สิทธิดิจิทัล

5.1. Freedom of speech เสรีภาพในการพูด

5.1.1. เป็นสิทธิการเมืองในการสื่อสารความคิดของบุคคลผ่านการพูดนอกจากนี้ยังรวมถึงสิทธิในการค้นคว้า หา เข้าถึงหรือได้รับข้อมูล ความรู้สึกนึกคิด ความเห็นที่มีการสื่อสารและเผยแพร่และนำข้อสนเทศหรือความคิดโดยไม่คำนึงถึงสื่อที่ใช้ ในทางปฏิบัติ สิทธิในเสรีภาพการพูดมิได้มีสมบูรณ์ในทุกประเทศ และสิทธินี้โดยทั่วไปมักถูกจำกัด เช่นเดียวกับการหมิ่นประมาท การดูหมิ่นซึ่งหน้า ความลามก และการยุยงให้ก่ออาชญากรรม

5.2. Intellectual property rights การคุ้มครองสิทธิของทรัพย์สินทางปัญญา

5.2.1. รูปแบบของการคุ้มครองซอฟต์แวร์นั้น อาจจะแตกต่างจากทรัพย์สินทางปัญญารูปแบบอื่นก็ได้ เพราะธรรมชาติของซอฟต์แวร์นั้นมีอายุการใช้งานไม่ยาวนานนัก

5.3. Privacy ความเป็นส่วนตัว

5.3.1. วิถีชีวิตผู้คนปัจจุบันพึ่งพิงกับข้อมูลดิจิทัลตลอดเวลา เวทีหยิบประเด็นชื่อเสียงในสังคมออนไลน์ ข้อมูลส่วนบุคคลที่ถูกผู้อื่นนำไปใช้ประโยชน์ และการตลาดออนไลน์ที่จูงใจให้คนแลกข้อมูลส่วนตัวกับโปรโมชั่นต่างๆ ประเด็นอภิปรายจะมุ่งเน้นมิติเชิงกฎหมายทั้งที่เป็นอยู่และจะมีขึ้นในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล ว่าจะมีการคุ้มครองความเป็นส่วนตัวอย่างไร ในยุคที่ผู้บริโภคยอมแลกข้อมูลของตนกับส่วนลดเพียงเล็กน้อย

6. Digital Literacy รู้เท่าทันสื่อดิจิทัล

6.1. Computational thinking การคิดเชิงคำนวณอย่างเป็นระบบ

6.1.1. เป็นกระบวนการคิดที่ต้องใช้ทักษะและเทคนิคเพื่อแก้ไขปัญหา

6.2. Content creation การสร้างสรรค์เนื้อหา

6.2.1. การสร้างสิ่งใหม่ๆที่มีคุณค่า

6.3. Critical thinking การคิดวิเคราะห์

6.3.1. การสร้างสิ่งใหม่ๆที่มีคุณค่า

7. Digital Communication การสื่อสารดิจิทัล

7.1. Online collaboration ความร่วมมือออนไลน์

7.1.1. ในความร่วมมือในโลกออนไลน์ ควรจะเป็นเรื่องที่ดีไม้ส่งผลกระทบให้ใครเดือดร้อน

7.2. Online communication การสื่อสารออนไลน์

7.2.1. เป็นการอำนวยสะดวกในการสื่อสารให้ง่ายขึ้นและเร็วขึ้น

7.3. Digital footprints ร่องรอยเท้าดิจิทัล

7.3.1. คือสิ่งที่เราทำลงไปบนโลกดิจิตอล

8. Digital Emotional lntelligence ความฉลาดทางอารมณ์ดิจิทัล

8.1. Empathy ความเอาใจใส่ เข้าใจความรู้สึก

8.1.1. ให้ความสำคัญกับความรู้สึกคนอื่นว่าเป็นยังไงบ้าง

8.2. Emotional awareness / regulation การรับรู้ / การควบคุมอารมณ์

8.2.1. ควบคุมอารมณ์ให้อยู่ ใช้สติในการแก้ปัญหา

8.3. Social & emotional awareness การตระหนักรู้ทางสังคมและอารมณ์

8.3.1. การแสดงออกถึงการรับรู้เกี่ยวกับตนเองว่าเป็นส่วนหนึ่งของสังคมและสิ่งแวดล้อม การแสดงพฤติกรรมอย่างเหมาะสมในการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างตนเองกับสังคมและสิ่งแวดล้อม