1. แหล่งที่มาของอำนาจ
1.1. อำนาจตามตำแหน่งหน้าที่
1.1.1. อำนาจที่เกิดจากการให้รางวัล
1.1.2. อำนาจบังคับข่มขู่
1.1.3. อำนาจตามกฎหมาย
1.1.4. อำนาจตามกระบวนการ
1.1.5. อำนาจจากข้อมูลข่าวสาร
1.1.6. อำนาจในการเป็นตัวแทน
1.2. อำนาจส่วนบุคคล
1.2.1. อำนาจที่เกิดจากความเชี่ยวชาญ
1.2.2. อำนาจที่เกิดจากการจูงใจอย่างมีเหตุผล
1.2.3. อำนาจเกิดจากการอ้างอิง
1.2.4. อำนาจที่เกิดจากการรวมตัวเป็นพันธมิตร
2. การเปลี่ยนอำนาจให้เป็นอิทธิพล
2.1. ความมีเหตุผล
2.2. มิตรภาพ
2.3. การรวมตัวกัน
2.4. การต่อรอง
2.5. การบังคับ
2.6. การใช้อำนาจที่สูงกว่า
2.7. การใช้บทลงโทษ/การแทรกแซง
3. การสร้างอำนาจ
3.1. การสร้างอำนาจตามตำแหน่ง
3.1.1. เปลี่ยนแปลงตำแหน่งงานให้เหมาะสมกับการปรับโครงสร้างองค์การ
3.1.2. ตำแหน่งหน้าที่ตามลำดับสายงาน
3.2. การสร้างอำนาจส่วนบุคคล
3.2.1. การสร้างความเชี่ยวชาญ
3.2.2. ความเข้าใจในทางการเมือง
3.2.3. ความคล้ายคลึง
4. การมอบอำนาจ
4.1. กุญแจแห่งการมอบอำนาจ
4.2. อำนาจเปลี่ยนตามตำแหน่ง
4.3. การขยายขอบเขตในความแตกต่าง
4.4. อำนาจเปรียบเสมือนการขยายขนมพาย
5. การเมือง
5.1. ประเพณีทางการเมืองในองค์การ
5.1.1. การใช้อำนาจเพื่อพัฒนาการยอมรับและประสานผลประโยชน์ส่วนตัวและส่วนรวม
5.1.2. ไม่ใช้บทลงโทษกับผู้บริหารที่มีอิทธิพลเพื่อผลประโยชน์ส่วนตัว
5.2. พฤติกรรมทางการเมืองและผู้บริหาร
5.2.1. เส้นทางการไหลของงาน
5.2.2. การให้บริการ
5.2.3. การให้คำแนะนำ
5.2.4. การตรวจสอบ
5.2.5. การยอมรับ
5.3. การป้องกันตัวเองจากการเมือง
5.3.1. การหลีกเลี่ยงการกระทำที่เกิดความเสี่ยง
5.3.2. การโอนความผิดให้ผู้อื่น
5.3.3. ป้องกันการรุกล้ำจากผู้อื่น