Get Started. It's Free
or sign up with your email address
เทคโนโลยี by Mind Map: เทคโนโลยี

1. 1.เทคโนโลยี

1.1. สิ่งที่มนุษย์พัฒนาขึ้น เพื่อช่วยในการทำงานหรือแก้ปัญหาต่าง ๆ

1.1.1. เทคโนโลยีในลักษณะของกระบวนการ

1.1.1.1. ป็นการใช้อย่างเป็นระบบของวิธีการทางวิทยาศาสตร์หรือ ความรู้ต่างๆที่ได้รวบรวมไว้ เพื่อนำไปสู่ผลในทางปฏิบัติ โดยเชื่อว่าเป็นกระบวนการที่เชื่อถือได้และนำไปสู่การแก้ปัญหาต่าง ๆ

1.1.2. เทคโนโลยีในลักษณะของผลผลิต

1.1.2.1. วัสดุและอุปกรณ์ที่เป็นผลมาจากการใช้กระบวนการทางเทคโนโลยี

1.1.3. เทคโนโลยีในลักษณะผสมของกระบวนการและผลผลิต

1.1.3.1. ะบบคอมพิวเตอร์ซึ่งมีการทำงานเป็นปฏิสัมพันธ์ระหว่างตัวเครื่องกับโปรแกรม เทคโนโลยีชีวภาพ

2. 3.ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่นๆ

2.1. วิทยาศาสตร์

2.1.1. วิทยาศาสตร์มีจุดมุ่งหมายในการแสวงหาความรู้อย่างเป็นระบบ โดยตั้งข้อสมมติฐาน พิสูจน์สมมติฐานด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ความรู้ หรือข้อเท็จจริงจากปรากฎการณ์นั้น ๆ ถ้ามีการพิสูจน อีกก็ยังคงใช้ข้อเท็จจริงเหมือนเดิม

2.1.1.1. ผลของกระบวนการเทคโนโลยีมี 2 ลักษณะ

2.1.1.1.1. 1. เครื่องมือ หรือฮาร์ดแวร์ หมายถึง เทคโนโลยีในรูปของอุปกรณ์ เครื่องมือต่าง ๆ

2.1.1.1.2. 2.วิธีการหรือ เรียนกว่า ซอฟต์แวร์ หมายถึง เทคโนโลยีในรูปของวิธีการ กระบวนการ ความรู้ต่าง ๆ

2.2. เกษตรศาสตร์

2.2.1. เทคโนโลยีกับวิทยาศาสตร์มีความสัมพันธ์กันมาก เทคโนโลยีเกิดจากพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ ที่ถ่ายทอดมาจากประเทศตะวันตกซึ่งศึกษาค้นคว้าทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์มาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ ยุคปฏิวัติวิทยาศาสตร์ (คริสต์ศตวรรษที่ 16-17) ทำให้การพัฒนาเทคโนโลยีเจริญก้าว หน้าควบคู่ไปกับวิทยาศาสตร์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์เป็นความรู้ที่เกิดจากการสังเกตปรากฏการณ์ ทางธรรมชาติ คือการพยายามที่อธิบายว่าทำไมจึงเกิดอย่างนั้น

2.3. โภชนาศาสตร์

2.3.1. โภชนศาสตร์ หรือ โภชนาการ เป็นวิชาวิทยาศาสตร์แขนง-หนึ่งที่กล่าวถึงความสำคัญของอาหารที่มีต่อสุขภาพของร่างกาย

2.3.1.1. “ ศัพท์เฉพาะทางโภชนศาสตร์ที่ควรทราบ “

2.3.1.1.1. 1. อาหารที่กำหนดให้ (DIET) เป็นอาหารที่ได้กำหนดไว้หรือให้ รายชื่อตายตัวของอาหารนั้นแต่ละมื้อโดยมักจะกำหนดเป็นรายการอาหาร

2.3.1.1.2. 2 .ผู้กำหนดอาหาร(Dietitian หรือ Dietecian) คือบุคลผู้ด้ำเนินงานด้านจัดปรุงอาหาร โดยยึดหลักวิชาโภชนศาสตร์ ในการจัดเตรียมอาหารบุคคลผู้นี้ต้อง คิดทำรายการอาหารเพื่อบริโภคเป็นมื้อรวมทั้งอาหารปกติและสำหรับคนป่วย

2.3.1.1.3. 3. อาหาร (Food) คือสิ่งที่มนุษย์นำมาบริโภคได้ และก่อให้เกิดประโยชน์แก่ร่างกายซ่อมแซมชำรุดส่วนที่สึกหรอให้พลังงานและความอบอุ่นตลอดจนช่วยในการคุ้มกันโรค พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 ได้นิยามคำศัพท์คำว่า อาหาร ว่า อาหาร คือของกินหรือของค้ำจุนชีวิต

2.3.1.1.4. 4. อุปนิสัยในการบริโภค (Food Habbit) ศึกษาการกินและความเคยชินในการบริโภค

2.3.1.1.5. 5. ทุพโภชนาการ(Mulnutrition) เป็นสภาพร่างกายที่ขาดสารอาหาร หรืออาจเรียกว่าเป็นโรคที่เกิดจากการขาดสารอาหาร

2.3.1.1.6. 6. สารอาหารหรือธาตุอาหาร(Nutrients) ได้แก่สารเคมีต่างๆที่มีอยู่ในอาหารที่คน รับประทานเข้าไป แบ่งออกเป็นสองพวกใหญ่ๆ

2.3.1.1.7. 7. โภชนาการ(Nutritionist) คือบุคคลที่เรียนเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์โภชนศาสตร์แล้วนำเอาความรู้ไปให้การศึกษา อบรม และดำเนินการ ส่งเสริมให้ผู้คนมีสุขภาพอนามัยที่สมบูรณ์แข็งแรง ประโยชน์ของอาหาร

2.4. ศึกษาศาสตร์

2.4.1. การนำเอาเทคโนโลยีการศึกษามาใช้นั้น ส่วนใหญ่นำมาใช้ในการแก้ปัญหา ในด้านการศึกษาก็เช่นเดียวกัน เพราะปัญหาทางด้านการศึกษามากมาย เช่น - ปัญหาผู้สอน - ปัญหาผู้เรียน - ปัญหาด้านเนื้อหา - ปัญหาด้านเวลา ปัญหาเรื่องระยะทางนอกจากนั้นการนำเทคโนโลยีการศึกษามาใช้ในการเรียนการสอนก็เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพทางการเรียนการสอนและเพิ่มประสิทธิผลทางการศึกษาอีกด้วยคณะกรรมการด้านเทคโนโลยีการศึกษาได้สรุปความสำคัญของเทคโนโลยีการศึกษาดังนี้

2.4.1.1. 1 เทคโนโลยีการศึกษาทำให้การเรียนการสอน มีความหมายมากขึ้น ทำให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้กว้างขวาง เรียนได้เร็วขึ้น ทำให้ผู้สอนมีเวลาให้ผู้เรียนมากขึ้น

2.4.1.2. 2 เทคโนโลยีการศึกษาสามารถตอบสนองความแตกต่างของผู้เรียน ผู้เรียนสามารถเรียนได้ตามความสามารถของผู้เรียน การเรียนการสอนจะเป็นการตอบสนองความสนใจและความต้องการของแต่ละบุคคลได้ดี

2.4.1.3. 3 เทคโนโลยีการศึกษาทำให้การจัดการศึกษา ตั้งบนรากฐานของวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ทำให้การจัดการศึกษาเป็นระบบและเป็นขั้นตอน

2.4.1.4. 4 เทคโนโลยีการศึกษาช่วยให้การศึกษามีพลังมากขึ้น การนำเทคโนโลยีด้านสื่อเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งที่จะทำให้การศึกษามีพลัง

2.4.1.5. 5 เทคโนโลยีการศึกษาทำให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้อย่างกว้างขวาง และได้พบกับสภาพความจริงในชีวิตมากที่สุด

2.4.1.6. 6 เทคโนโลยีการศึกษาทำให้เปิดโอกาสทางการศึกษาทั้งๆ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยบทบาทของเทคโนโลยีการศึกษาในการเรียนการสอนจึงมีอยู่ 4 บทบาท ดังนี้

2.4.1.6.1. 1. บทบาทด้านการจัดการ 2. บทบาทด้านการพัฒนา 3. บทบาทด้านทรัพยากร 4. บทบาทด้านผู้เรียนจาก Domain of Education Technology

2.5. แพทยศาสตร์

2.5.1. สำหรับการพัฒนาเทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุขหรือ Health Information evolution นั้น ในปัจจุบันได้มีการพัฒนาเทคโนโลยีมารองรับวงการแพทย์และสาธารณสุขอย่างต่อเนื่อง จนถึงปัจจุบันการพัฒนาเทคโนโลยีของวงการแพทย์และสาธารณสุขมีทั้งสิน 3 ยุค

2.5.1.1. โดยยุคแรก เริ่มจากการพัฒนาระบบ Health 1.0 ซึ่งเป็นการจัดเก็บข้อมูลคนไข้ ให้อยู่ในรูปของเอกสารซึ่งเอกสารทุกอย่างจะอยู่ที่โรงพยาบาลในลักษณะที่เป็น Physical centric

2.5.1.2. ยุคที่ 2 เป็นยุค Health 2.0 เป็นการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยในการเก็บข้อมูลคนไข้ในลักษณะเป็นเวชทะเบียนอิเล็กทรอนิกส์และเวชทะเบียนส่วน บุคคล (Electronics Medical Records & Personal Health Records) รวมถึงการนำเทคโนโลยีมาช่วยในการจัดการและการบริหารงานในโรงพยาบาลและสาธารณสุข

2.5.1.3. ยุคที่3 บุค Health 3.0 ซึ่งเป็นการพัฒนาเทคโนโลยีมาช่วยในการรักษาพยาบาลและช่วยจัดการบริหารงานที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ทำให้การบริการทางการแพทย์มุ่งสู่การให้บริการปัจเจกชน โดยผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางของการดูแลรักษาสุขภาพ หรือ Patient centric ที่การรักษาพยาบาลรวมถึงการจ่ายยาสามารถทำได้เฉพาะผู้ป่วยแต่ละราย ไมโครซอฟท์ส่งเทคโนโลยีการตรวจสุขภาพที่บ้านออกสู่ตลาด

2.6. พลังงานและสิ่งแวดล้อม

2.6.1. เทคโนโลยีสัมพันธ์กับพลังงานและสิ่งแวดล้อมในส่วนที่เกี่ยวกับการนําพลังงานมาใช้ให้เกิดประโยชน์ การใช้พลังงานแบบประหยัด และการใช้เทค โนโลยีเพื่อช่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีสิ่งแวดล้อมเป็นการนําความรู้และศิลปวิทยาการในการดํารงชีวิตอยู่อย่างเหมาะสม ในสภาพแวดล้อมที่กําลังเปลี่ยนแปลง

2.6.1.1. 1. เทคโนโลยีจากพลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานแสงอาทิตย์เป็นพลังงานจากธรรมชาติที่มีความสะอาดปราศจากการก่อมลพิษ ต่อสิ่งแวดล้อม มีปริมาณมากมายมหาศาลและไม่มีหมดสิ้น จึงมีการศึกษาวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ มาใช้แทนพลังงานอื่น

2.6.1.2. 2.เทคโนโลยีผลิตกระแสไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์แบบอิสระ เป็นระบบการผลิตกระแส-ไฟฟ้าที่ได้รับการออกแบบสําหรับใช้งานในชนบทที่ไม่มีระบบสายไฟส่งไฟฟ้า

2.6.1.3. 3.เทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ผลิตความร้อน ประเทศมีการใช้ประโยชน์จากพลังงานแสงอาทิตย์ในรูปแบบใช้งานต่างๆเช่น เครื่องผลิตนํ้าร้อนจากพลังงานแสงอาทิตย์ เครื่องอบแห้งจากพลังงานแสงอาทิตย์

2.6.1.4. 4.เทคโนโลยีจากพลังงานลมเป็นพลังงานธรรมชาติ ที่สะอาด บริสุทธิ์

3. 4.เทคโนโลยีท้องถิ่งและเทคโนโลยีนำเข้า

3.1. เทคโนโลยีท้องถิ่น

3.1.1. ศิลปะในการสร้างประยุกต์ดัดแปลง เครื่องมือเครื่องใช้ให้เหมาะสมวิถีชีวิต สภาพท้องถิ่น

3.1.1.1. ภูมิปัญญา

3.1.1.1.1. ex.การถนอมอาหาร

3.1.1.1.2. ex.การคัดเลือกพันธ์ข้าว

3.2. เทคโนโลยีนำเข้า

3.2.1. จำเป็นต้องรับเอามาจากต่างประเทศ และนำมาพัฒนา ปรับปรุง ให้เหมาะสม กับสภาพสิ่งแวดล้อม การดำเนินชีวิต และวัฒนธรรม ของสังคมไทย

3.2.1.1. เทคโนโลยีที่จำเป็นต้องนำเข้า

3.2.1.1.1. เทคโนโลยีการเกษตร

3.2.1.1.2. เทคโนโลยีชีวภาพ

3.2.1.1.3. เทคโนโลยีทางอุตสาหกรรม

3.2.1.1.4. เทคโนโลยีทางการแพทย์

3.2.1.1.5. เทคโนโลยีการสื่อสาร

3.2.1.1.6. เทคโนโลยีการขนส่ง

3.2.1.1.7. เทคโนโลยีระดับสูง

4. 2.ความสัมพันธ์และบทบาท

4.1. ด้านการดำเนินชีวิตประจำวัน

4.1.1. ความสัมพันธ์

4.1.1.1. ในชีวิตประจำวันเราต้องเจอกับเทคโนโลยีสารสนเทศมากมายเลยดังนั้นเทคโนโลยีจึงมีผลกับเรา

4.1.1.1.1. ex.เรียนการสอนในโรงเรียนจะมีการนำคอมพิวเตอร์และเครื่องมือประกอบช่วยในการเรียนรู้

4.1.1.1.2. ex.การใช้ภาพถ่ายดาวเทียม

4.1.2. บทบาท

4.1.2.1. การพัฒนาเทคโนโลยีรวดเร็วขึ้นเมื่อมีการพัฒนาอุปกรณ์ทางด้านคอมพิวเตอร์และส่วนประกอบ จะเห็นได้ว่าในช่วงสี่ห้าปีที่ผ่านมาจะมีผลิตภัณฑ์ใหม่ซึ่งมีคอมพิวเตอร์เข้าไปเกี่ยวข้องให้เห็นอยู่ตลอดเวลา.

4.1.2.1.1. ex.ช่วยให้ดำเนินชีวิตประจำวันได้สะดวกยิ่งขึ้น

4.1.2.1.2. ex.ช่วยให้ประหยัดเวลาในการทำกิจกรรมบางอย่าง

4.2. ด้านสิ่งแวดล้อม

4.2.1. ความสัมพันธ์

4.2.1.1. เทคโนโลยีช่วยให้มนุษย์มีความสามารถมากขึ้น โดยเฉพาะความสามารถในการเอาชนะธรรมชาติ เพื่อให้มี ชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น

4.2.1.1.1. ex.การสร้างตึกที่ทนทานต่อสภาพแวดล้อม

4.2.1.1.2. ex.การสร้างเขื่อนกักเก็บน้ำ

4.2.2. บทบาท

4.2.2.1. ให้คุณประโยชน์แก่มนุษยชาติอย่างมหาศาล แต่ถ้ามนุษย์ไม่รู้จักใช้หรือใช้ไม่เหมาะสม

4.2.2.1.1. ex.การมีโรงจักรไฟฟ้าพลังปรมาณูแต่ไม่รู้จักการควบคุม ดูแล ทำให้เกิดการรั่วของสารกัมมันตรังสี

4.2.2.1.2. ex.การารนำเอาพลังปรมาณูไปใช้ในการสู้รบกัน

4.3. ด้านการพัฒนาประเทศ

4.3.1. 1. เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ เทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทในด้านเศรษฐกิจโดยสามารถนำมาประยุกต์ ใช้ประโยชน์และเพิ่มขีดสามารถในการแข่งขันทั้งภาคการผลิตและบริการ ภาคการเงินการคลังทั้งภายใน ประเทศและเพื่อการส่งออก อีกทั้งยังประยุกต์ใช้ประโยชน์ในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม

4.3.2. 2.เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาด้านด้านสังคม เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยให้พัฒนาสังคมให้เกิดการเรียนรู้ที่สร้างสรรค์ เช่นโครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เข้าไปช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาสทางสังคมได้มีคอมพิวเตอร์ใช้ เช่นโรงเรียนชนบท คนป่วยเรื้อรังในโรงพยาบาลผู้ต้องขัง และคนตาบอดที่สามารถอ่านหนังสือได้ด้วยระบบ DAISY(Digital Accessible Information System)

4.3.3. 3.เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาด้านศึกษา แนวทางการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษาไว้ 5 ประเด็น คือ

4.3.3.1. 3.1.การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction) มีหลายรูปแบบเช่น Drill and Practice, Linear Program , Branching Program, Simulation, Game, Multimedia, Intelligence CAI

4.3.3.2. 3.2.การศึกษาทางไกล (Distance Learning) ซึ่งจัดได้หลายรูปแบบ เช่น การใช้วิทยุ โทรทัศน์ การสื่อสารโดยใช้ระบบแพร่ภาพผ่านดาวเทียม (Direct to Home : DTH) หรือระบบการประชุมทางไกล (Video Teleconference)

4.3.3.3. 3.4.การใช้งานในห้องสมุด (Electronic Library) เป็นการประยุกต์ใช้ในการสืบค้นข้อมูลหนังสือ วารสาร หรือบทคัดย่อวิทยานิพนธ์ ผลงานการวิจัย

4.3.3.4. 3.3.เครือข่ายการศึกษา(Education Network) ซึ่งเป็นการนำเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมาใช้ ซึ่งมีบริการในหลายรูปแบบ เช่น Electronic Mail , File Transfer Protocol, Telnet , World Wide Web เป็นต้น เครื่องข่ายคอมพิวเตอร์จะสามารถให้ผู้เรียนได้เข้าถึงแหล่งข้อมูลสารสนเทศที่มีจำนวนมากมายที่เชื่อมโยงในเครือข่ายทั่วโลก

4.3.3.5. .5.การใช้งานในห้องปฏิบัติการ เช่น การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการจำลองสถานการณ์ (Simulation) การใช้ในงานประจำและงานบริหาร (Computer Manage Instruction) เป็นการประยุกต์ใช้ในสำนักงานเพื่อช่วยในการบริหาร จัดการ ทำให้เกิดความคล่องตัว รวดเร็วและแม่นยำ การตัดสินใจในการดำเนินการต่างๆ ย่อมเกิดประสิทธิภาพสูงสุด

5. 5.เทคโนโลยีและการพัฒนาประเทศ

5.1. เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ

5.1.1. มีบทบาทในด้านเศรษฐกิจโดยสามารถนำมาประยุกต์ ใช้ประโยชน์และเพิ่มขีดสามารถในการแข่งขันทั้งภาคการผลิตและบริการ

5.1.1.1. ex. สินค้าส่งออก

5.1.1.2. ex. พัฒนาเศรษฐกิจชุมชนวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม

5.2. เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาด้านด้านสังคม

5.2.1. เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยให้พัฒนาสังคมให้เกิดการเรียนรู้ที่สร้างสรรค์

5.2.1.1. ex. โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เข้าไปช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาสทางสังคมได้มีคอมพิวเตอร์ใช้

5.2.1.2. ex. โรงเรียนชนบท คนป่วยเรื้อรังในโรงพยาบาลผู้ต้องขัง และคนตาบอดที่สามารถอ่านหนังสือได้ด้วยระบบ DAISY

5.3. เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาด้านศึกษา

5.3.1. แบ่งเป็น 5 ประเด็น คือ

5.3.1.1. การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน

5.3.1.1.1. ex. Drill and Practice

5.3.1.1.2. ex. Intelligence CAI

5.3.1.2. การศึกษาทางไกล

5.3.1.2.1. ex. การสื่อสารโดยใช้ระบบแพร่ภาพผ่านดาวเทียม

5.3.1.2.2. ex. ระบบการประชุมทางไกล

5.3.1.3. เครือข่ายการศึกษา

5.3.1.3.1. ex. Electronic Mail

5.3.1.3.2. ex. World Wide Web

5.3.1.4. การใช้งานในห้องสมุด

5.3.1.4.1. ex. หนังสือ วารสาร

5.3.1.4.2. ex. บทคัดย่อวิทยานิพนธ์

5.3.1.5. การใช้งานในห้องปฏิบัติการ

5.3.1.5.1. ex. การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการจำลองสถานการณ์

5.3.1.5.2. ex. การใช้ในงานประจำและงานบริหาร

5.4. เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาด้านสาธารณสุข

5.4.1. เทคโนโลยีสารสนเทศได้รับการนำมาใช้ในการพัฒนาด้านสาธารณสุขอย่างกว้างขวาง และทำให้งานด้าน สาธารณสุขเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว โดยกระทรวงสาธารณสุข ได้ปรับระบบการบริหารงาน และนำเทคโนโลยี สารสนเทศมาใช้ในงานต่างๆ

5.4.1.1. ex. การลงทะเบียนผู้ป่วย

5.4.1.2. ex. ให้คำปรึกษาทางไกล โดยแพทย์ผู้เชี่ยวชำนาญ

5.5. เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อม

5.5.1. นำเอาเทคโนโลยีที่เรียกว่า GIS เข้ามาจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลทางภูมิศาสตร์ โดยกำหนดข้อมูลด้านตำแหน่งที่ตั้งบนผิวโลก ซึ่งรวบรวม จากแหล่งต่างๆ เพื่อนำมาเป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาผังเมือง ประยุกต์ใช้งานทางด้านธรณีวิทยา การพยากรณ์อากาศและการควบคุมสิ่งแวดล้อม

5.5.1.1. ex. แผนที่

5.5.1.2. ex. ภาพถ่ายทางดาวเทียม