Get Started. It's Free
or sign up with your email address
เทคโนโลยี by Mind Map: เทคโนโลยี

1. ความสัมพันธ์และบทบาทของเทคโนโลยี

1.1. ด้านการดำรงชีวิตประจำวัน

1.1.1. เทคโนโลยีกับการพัฒนาอุตสาหกรรม

1.1.1.1. เทคโนโลยีมาใช้ในการผลิต ทำให้ประสิทธิภาพในการผลิตเพิ่มขึ้น แล้วยังช่วยประหยัดแรงงาน ลดต้นทุนและรักษาสภาพแวดล้อม เทคโนโลยีที่มีบทบาทในการพัฒนาอุตสาหกรรมในประเทศไทย

1.1.1.1.1. ตัวอย่าง

1.1.2. เทคโนโลยีกับการพัฒนาด้านการเกษตร

1.1.2.1. ใช้เทคโนโลยีในการเพิ่มผลผลิต ปรับปรุงพันธุ์ เป็นต้น เทคโนโลยี มีบทบาทในการพัฒนาอย่างมาก แต่ทั้งนี้การนำเทคโนโลยีมาใช้ในการพัฒนาจะต้องศึกษาปัจจัยแวดล้อมหลายด้าน

1.1.2.1.1. ตัวอย่าง

1.1.3. เทคโนโลยีกับการพัฒนาด้านการสื่อสาร

1.1.3.1. การสร้างความสัมพันธ์ทางด้านสังคม กลับไม่ได้เป็นแค่การมาพบปะพูดคุย มองเห็นรูปร่างหน้าตา แต่กลับอาศัยเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการพัฒนาทางด้านสังคมให้เกิดขึ้น จนเราเรียกกันติดหูว่า สังคมเครือข่าย (Social Network)

1.1.3.1.1. ตัวอย่างของแต่ละด้าน

1.2. ด้านการพัฒนาประเทศ

1.2.1. การศึกษา

1.2.1.1. เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยให้การค้นหาข้อมูลทางด้านการศึกษาง่ายขึ้น และกว้างขวางอย่างไร้ขีดจำกัด ผู้เรียนมีความสะดวกมากขึ้นในการค้นคว้าวิจัยต่างๆ

1.2.1.1.1. ตัวอย่าง

1.2.2. ด้านสังคม

1.2.2.1. เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยให้พัฒนาสังคมให้เกิดการเรียนรู้ที่สร้างสรรค์ เช่นโครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เข้าไปช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาสทางสังคมได้มีคอมพิวเตอร์ใช้

1.2.2.1.1. ตัวอย่าง

1.2.3. ด้านสาธารณสุข

1.2.3.1. เทคโนโลยีสารสนเทศได้รับการนำมาใช้ในการพัฒนาด้านสาธารณสุขอย่างกว้างขวาง และทำให้งานด้าน สาธารณสุขเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว โดยกระทรวงสาธารณสุข ได้ปรับระบบการบริหารงาน และนำเทคโนโลยี สารสนเทศมาใช้ในงานต่างๆ

1.2.3.1.1. ตัวอย่าง

1.2.4. ด้านสิ่งแวดล้อม

1.2.4.1. นำเอาเทคโนโลยีที่เรียกว่า GIS (Geographic Information System) เข้ามาจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลทางภูมิศาสตร์ โดยกำหนดข้อมูลด้านตำแหน่งที่ตั้งบนผิวโลก (ground position)

1.2.4.1.1. ตัวอย่าง

1.3. ด้านสิ่งแวดล้อม

1.3.1. มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมป้องกันและแก้ไขปัญหาทางด้านสิ่งแวดล้อมเทคโนโลยีช่วยให้มนุษย์มีความสามารถมากขึ้น โดยเฉพาะความสามารถในการเอาชนะธรรมชาติ เพื่อให้มี ชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น สามารถทำงานได้มากขึ้น เดินทางได้รวดเร็วขึ้น มองเห็นได้ไกลกว่าที่ดวงตามนุษย์จะมองเห็นได้

1.3.1.1. ตัวอย่างเทคโนโลยี

1.3.1.2. เทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์

1.3.1.3. เทคโนโลยีพลังงานทดแทน

2. เทคโนโลยีท้องถิ่นและเทคโนโลยีนำเข้า

2.1. เทคโนโลยีท้องถิ่น

2.1.1. คือ เทคโนโลยีดั้งเดิม เกิดขึ้นจากประสบการณ์ ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ การทำมาหากิน และการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม

2.1.2. ระดับของเทคโนโลยีท้องถิ่น

2.1.2.1. เทคโนโลยีระดับต่ำ

2.1.2.1.1. ครกตำข้าว

2.1.2.1.2. ลอบดักปลา

2.1.2.1.3. กระต่ายขูดมะพร้าว

2.1.2.2. เทคโนโลยีระดับกลาง

2.1.2.2.1. เครื่องขูดมะพร้าว

2.1.2.2.2. การสร้างอ่างเก็บน้ำ

2.1.2.2.3. การปลูกพืชหมุนเวียนเพื่อแก้ปัญหาดินเสื่อม

2.1.2.3. เทคโนโลยีระดับสูง

2.1.2.3.1. การผลิตอาหารกระป๋อง

2.1.2.3.2. การคัดเลือกพันธุ์สัตว์โดยใช้เทคโนโลยีชีวภาพ

2.1.2.3.3. การผลิตอาหารสำเร็จรูป

2.2. เทคโนโลยีนำเข้า

2.2.1. ในประเทศเรายังคงต้องนำเข้าเทคโนโลยีที่ดีกว่าเดิมมาเพื่อใช้ในด้านต่างๆ

2.2.1.1. เทคโนโลยีการเกษตร

2.2.1.1.1. สารเคมีป้องกัน จำกัดศัตรูพืช

2.2.1.1.2. การปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน

2.2.1.2. เทคโนโลยีชีวภาพ

2.2.1.2.1. การผลิตวัคซีน

2.2.1.2.2. การผลิตยาบางชนิด

2.2.1.3. เทคโนโลยีทางอุตสาหกรรม

2.2.1.3.1. ใช้ในอุตสาหกรรมเหล็ก

2.2.1.3.2. อุตสาหกรรมกรดกำมะถัน

2.2.1.4. เทคโนโลยีทางการแพทย์

2.2.1.4.1. การผลิต พัฒนายาใหม่

2.2.1.4.2. การวินิจฉัยโรค

2.2.1.4.3. การผลิตอวัยวะเทียม

2.2.1.5. เทคโนโลยีการสื่อสาร

2.2.1.5.1. โทรศัพท์

2.2.1.5.2. โทรทัศน์

2.2.1.5.3. อินเตอร์เน็ต

3. ความหมายของเทคโนโลยี

3.1. เทคโนโลยี (Technology) คือ การใช้ความรู้ เครื่องมือ ความคิด หลักการ เทคนิค ความรู้ ระเบียบวิธี กระบวนการตลอดจน ผลงานทางวิทยาศาสตร์ทั้งสิ่งประดิษฐ์และวิธีการ มาประยุกต์ใช้ในระบบงานเพื่อช่วยให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการทำงานให้ดียิ่งขึ้น เช่น เทคโนโลยีด้านการสื่อสาร และ โทรคมนาคมเทคโนโลยีเครือข่าย

4. ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่นๆ

4.1. วิทยาศาสตร์

4.1.1. มีจุดมุ่งหมายในการแสวงหาความรู้อย่างเป็นระบบ ข้อเท็จจริงจากปรากฎการณ์นั้น ๆ นำมาผสมผสานประยุกต์ใช้ในทางปฎิบัติ ประดิษฐ์เป็นเครื่องมือเครื่องใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด

4.1.1.1. ตัวอย่างเทคโนโลยี

4.1.1.2. การใช้การรวมตัวของเซลล์เพื่อพัฒนาพันธุ์ใหม่ในเขตแห้งแล้ง

4.1.1.3. การใช้คอมพิวเตอร์ควบคุมการเจริญเติบโตของพืช

4.2. เกษตรศาสตร์

4.2.1. เป็นการนำเทคโนโลยีมาประยุกต์ควบคู่ไปกับความรู้ทางวิทยาศาสตร์เป็นฐานรองรับใช้ในการเกษตร ทั้งการผลิตคิดค้นเครื่องจักรกลทางการเกษตรและพัฒนากระบวนการผลิตแทนการเกษตรแบบดั้งเดิมที่ใช้กำลังคนเพื่อเพิ่มผลผลิต ปรับปรุงพันธุ์

4.2.1.1. ตัวอย่างเทคโนโลยี

4.2.1.2. การผสมเทียมในการขยายพันธุ์สัตว์

4.2.1.3. การพัฒนาระบบการปลูกพืชในตัวอาคาร

4.3. ศึกษาศาสตร์

4.3.1. การประยุกต์ใช้สหวิชาอย่างเป็นระบบเพื่อให้ได้แนวคิด เครื่องมือ เทคนิคและวิธีการต่างๆ เพื่อนำไปใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา และพัฒนาการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพ

4.3.1.1. ตัวอย่างเทคโนโลยี

4.3.1.2. การใช้คอมพิวเตอร์เป็นสื่อการสอนโดยตรง

4.3.1.3. การใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการออกแบบสื่อการเรียนการสอน

4.4. โภชนศาสตร์

4.4.1. เป็นวิทยาศาสตร์ประยุกต์แขนงหนึ่งว่าด้วยความสัมพันธ์ระหว่างอาหารกับกระบวนการต่างๆที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพและการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต โดยเน้นเรื่องอาหาร พิษภัยอาหาร

4.4.1.1. ตัวอย่างเทคโนโลยี

4.4.1.2. การถนอมอาหารโดยการพาสเจอร์ไรซ์และการสเตอริไลซ์

4.4.1.3. เทคโนโลยีปรับปรุงคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยวและแปรรูปมังคุด

4.5. แพทยศาสตร์

4.5.1. วงการแพทย์ได้นำเทคโนโลยีระดับสูงมาใช้ทั้งการตรวจวินิจฉัยและการรักษาโรค เพื่อให้การรักษาอาการเจ็บป่วยมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

4.5.1.1. ตัวอย่างเทคโนโลยี

4.5.1.2. เครื่องเอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์ความเร็วสูง

4.5.1.3. การนำสารกัมมันตรังสีและรังสีมาใช้ในการตรวจวินิจฉัยและรักษาโรค

4.6. พลังงานและสิ่งแวดล้อม

4.6.1. ปัจจุบันมนุษย์มีเทคโนโลยีเพื่ออำนวยความสะดวกในชีวิตประจำวัน

4.6.1.1. เทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์

4.6.1.1.1. ใช้เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า

4.6.1.1.2. ใช้เพื่อผลิตความร้อน

4.6.1.2. เทคโนโลยีพลังงานลม

4.6.1.2.1. กังหันลม

4.6.1.2.2. เครื่องกลเติมอากาศ กังหันน้ำชัยพัฒนา

4.6.1.3. เทคโนโลยีบำบัดน้ำเสียและผลิตพลังงาน

4.6.1.3.1. ก๊าซชีวภาพ

4.6.1.3.2. ระบบบำบัดน้ำเสียแบบตรึงฟิล์ม

5. เทคโนโลยีกับการพัฒนาประเทศ

5.1. ด้านการศึกษา

5.1.1. การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน

5.1.2. การศึกษาทางไกล

5.2. ด้านสาธารณสุข

5.2.1. การสนับสนุนค่ารักษาพยาบาล

5.2.2. บันทึกทะเบียนผู้ป่วย

5.3. ด้านสิ่งแวดล้อม

5.3.1. จัดเก็บข้อมูลทางภูมิศาสตร์

5.3.2. มาเป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาเมือง