การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาสุขภาพระบบปัสสาวะ

Use this template to collect all materials and information related to a class/course.

Jetzt loslegen. Gratis!
oder registrieren mit Ihrer E-Mail-Adresse
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาสุขภาพระบบปัสสาวะ von Mind Map: การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาสุขภาพระบบปัสสาวะ

1. Acute Glomerulonephritis

1.1. สาเหตุ

1.1.1. Pharyngitis ( คออักเสบ )

1.1.1.1. Streptococcus

1.1.2. การติดเชื้อทางผิวหนัง

1.1.3. การติดเชื้ออื่น

1.2. พยาธิสรีรภาพ

1.2.1. Infection --> Antigen --> Antibody --> Antigen-antibody complex

1.2.2. หลอดเลือดที่หน่วยไต ถูกทำลายโดย Lysozyme , Anaphylatoxin

1.2.3. การกรองของเสียและการดูดซึมผิดปกติ

1.3. อาการ

1.3.1. การบวมแบบกดไม่บุ๋ม

1.3.2. ปัสสาวะน้อย สีเข้ม

1.3.3. อาการซีด กระสับกระส่าย อ่อนเพลีย

1.3.4. BP สูง

1.4. การวินิจฉัย

1.4.1. ตรวจร่างกาย

1.4.2. ตรวจปัสสาวะ

1.4.2.1. พบเม็ดเลือดแดง

1.4.2.2. พบเม็ดเลือดขาว

1.4.2.3. พบอัลบูมิน

1.4.3. ตรวจเลือด

1.4.3.1. Na , K , Cl ,CO2 = Normal/High

1.4.3.2. BUN , Creatinine , Uric acid = High

1.4.4. ตรวจพิเศษ

1.4.4.1. EKG

1.4.4.2. Renal Biopsy

1.4.4.3. การเพาะเชื้อจาก Pharynx

1.5. ภาวะแทรกซ้อน

1.5.1. Hypertensive Encephalopathy

1.5.2. Acute Cardiac Decompensation

1.5.3. Acute Renal Failure

1.6. การรักษา

1.6.1. การรักษาแบบประคับประคอง

1.6.1.1. ลดความดันโลหิตและอาการบวม

1.6.1.1.1. นอนพัก / ยาลดความดันโลหิต

1.6.1.1.2. ยาขับปัสสาวะ Ex. Lasix

1.6.1.1.3. ควบคุมอาหารและน้ำ

1.6.1.1.4. ชั่งน้ำหนักและวัดความดันโลหิตทุกวัน

1.6.1.2. ควบคุมและป้องกันการติดเชื้อ ภาวะแทรกซ้อน

1.6.1.2.1. ป้องกันภาวะ Hyperkalemia

2. Urinary Tract Infection

2.1. สาเหตุ

2.1.1. เชื้อแบคทีเรีย

2.1.1.1. Escherichia Coli. (พบบ่อย)

2.1.1.2. Klebsiella

2.1.1.3. Proteus

2.1.2. ภูมิต้านทานเฉพาะที่ของกระเพาะปัสสาวะต่ำ

2.1.3. ความผิดปกติแต่กำเนิด

2.2. พยาธิสรีรภาพ

2.2.1. แบคทีเรียบริเวณส่วนปลาย่อปัสสาวะแพร่กระจาย

2.2.1.1. แพร่ไปทางเดินปัสสาวะ

2.2.1.2. แพร่ไปยังระบบไหลเวียนโลหิต

2.2.1.2.1. Sepsis

2.2.1.3. แพร่ไปยังต่อมน้ำเหลือง

2.2.2. การมีปัสสาวะคั่งในกระเพาะปัสสาวะ

2.2.2.1. ปัสสาวะไหลไม่สะดวก --> เกิด Hydronephrosis --> การติดเชื้อ

2.2.3. ความผิดปกติแต่กำเนิด

2.2.3.1. เกิด Vesicoureteral Reflux ( VUR )

2.2.3.1.1. ปัสสาวะไหลย้อนกลับไปยังท่อไตและกรวยไต

2.2.3.2. มักพบในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี

2.3. อาการ

2.3.1. เด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี

2.3.1.1. มีไข้ ตัวเหลือง อาเจียน

2.3.1.2. เบื่ออาหาร ท้องโต เลี้ยงไม่โต

2.3.2. เด็กอายุ 2-14 ปี

2.3.2.1. ไข้ ปัสสาวะบ่อยและมีกลิ่น

2.3.2.2. ปวดแสบขณะถ่ายปัสสาวะ

2.3.2.3. ปวดท้องน้อย กดเจ็บบริเวณชายโครงด้านหลัง

2.3.2.4. ถ่ายปัสสาวะเป็นเลือด

2.4. การวินิจฉัย

2.4.1. ตรวจร่างกาย

2.4.2. ตรวจปัสสาวะ

2.4.2.1. พบเม็ดเลือดขาว

2.4.2.2. การ Suprapubic Tapping

2.4.2.2.1. เกิดเชื้อ 100,000 โคโลนี/มิลลิลิตร

2.4.2.3. การ Nitrite Test

2.4.2.4. การเพาะเชื้อจากปัสสาวะ (สำคัญที่สุด)

2.4.3. การตรวจทางรังสีวิทยา

2.4.3.1. ค้นหา VUR / US / IVP

2.5. ภาวะแทรกซ้อน

2.5.1. ไตเสื่อมหน้าที่

2.5.1.1. ภาวะ Renal Tubular

2.5.1.2. ภาวะไตวาย

2.5.2. Hypertension

2.5.3. นิ่วในกระเพาะปัสสาวะ

2.6. การรักษา

2.6.1. ลดการติดเชื้อโดยให้ยาปฏิชีวนะ

2.6.2. ให้ได้รับน้ำในปริมาณมาก

2.6.3. เฝ้าระวังภาวะไตวาย

3. Nephrotic Syndrome

3.1. กลุ่มอาการ

3.1.1. Hyperalbuminuria

3.1.2. Hypoalbuminemia

3.1.3. Pitting Edema

3.1.4. Hypercholesterolemia

3.2. สาเหตุ

3.2.1. ความผิดปกติที่ไต

3.2.1.1. Idiopathic NS (พบมาก)

3.2.1.2. Congenital NS

3.2.2. ร่วมกับโรคระบบอื่น

3.2.2.1. SLE

3.2.2.2. CHF

3.3. พยาธิสรีรภาพ

3.3.1. Glomerulus เกิดความเสียหายทำให้โปรตีนรั่วออกทางปัสสาวะ

3.4. อาการ

3.4.1. อาการบวม ผิวหนังซีด

3.4.2. ปัสสาวะน้อย สีเข้ม

3.4.3. เบื่ออาหาร กระสับกระส่าย

3.4.4. อาการติดเชื้อร่วม

3.5. การวินิจฉัย

3.5.1. ตรวจร่างกาย

3.5.1.1. บวมแบบกดบุ๋ม

3.5.2. ตรวจปัสสาวะ

3.5.2.1. พบโปรตีนในปัสสาวะ

3.5.2.2. พบไขมันในปัสสาวะ

3.5.3. ตรวจเลือด

3.5.3.1. Serum Protein ต่ำ

3.5.3.2. Serum Cholesterol สูง

3.5.4. ตรวจพิเศษ

3.5.4.1. Renal Biopsy

3.6. ภาวะแทรกซ้อน

3.6.1. การติดเชื้อ

3.6.2. ปริมาณเลือดไหลเวียนน้อยลง

3.6.3. การอุดตันของหลอดเลือด

3.7. การรักษา

3.7.1. ให้ยาสเตียรอยด์

3.7.2. ป้องกันภาวะโภชนาการ / การติดเชื้อ

3.7.3. ลดอาการบวม

3.7.4. เพิ่มโพสแทสเซียม / วิตามิน

4. Phimosis In Children

4.1. ลักษณะของโรค

4.1.1. ภาวะที่ไม่สามารถรูดหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศกลับทางด้านหลังหัวของอวัยวะเพศ

4.1.2. ภาวะที่หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศไม่เกิด

4.2. อาการ

4.2.1. ปัสสาวะลำบาก ร้องปวดก่อนขับปัสสาวะ

4.2.2. หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศโป่ง ขณะเบ่งถ่าย

4.2.3. หนังหุ้มปลายบวมแดงอักเสบ

4.2.4. ถ่ายปัสสาวะป็นหยด กระปริบกระปรอย มีเลือดปน

4.2.5. มีไข้ หนาวสั่น

4.2.6. รูดหนังหุ้มปลายแล้วดันกลับไม่ได้

4.3. การรักษา

4.3.1. วิธีการประคับประคอง

4.3.1.1. ครีมสเตอรอยด์ทาบริเวณหนังหุ้มปลาย

4.3.1.2. พ่อแม่ช่วยรูดหนังหุ้มปลายลงแล้วรูดกลับ

4.3.1.3. ถ้ารักษาเกิด 3 เดือนไม่หายให้เปลี่ยนการรักษา

4.3.2. การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ

4.3.2.1. ข้อบ่งชี้

4.3.2.1.1. หนังหุ้มปลายไม่เกิด มีพังผืด

4.3.2.1.2. มีการอักเสบบริเวณปลายอวัยวะเพศ

4.3.2.1.3. มีทางเดินปัสสาวะอักเสบ

4.3.2.1.4. กลุ่มวัฒนธรรม ศาสนา เชื้อชาติ

4.3.2.2. ข้อห้าม

4.3.2.2.1. เด็กที่มีความผิดปกติของอวัยวะเพศ

4.3.2.2.2. ทารกแรกเกิดที่มีอายุน้อยกว่า 24 ชั่วโมง มีความผิดปกติการแข็งตัวของเลือด

4.3.2.3. การผ่าตัด

4.3.2.3.1. เพื่อเอาหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายออกไป

4.3.2.4. ภาวะแทรกซ้อน

4.3.2.4.1. การมีเลือดออกบริเวณผ่าตัด

4.3.2.4.2. การอักเสบติดเชื้อ

4.3.2.4.3. ท่อปัสสาวะตีบตัน

5. นางสาวกนกพิชญ์ ลี้ประเสริฐ ชั้นปี 2 รุ่นที่ 25 เลขที่ 2