ธรรมชาติของพลังงานและสิ่งแวดล้อม

Jetzt loslegen. Gratis!
oder registrieren mit Ihrer E-Mail-Adresse
ธรรมชาติของพลังงานและสิ่งแวดล้อม von Mind Map: ธรรมชาติของพลังงานและสิ่งแวดล้อม

1. 1.พลังงาน (energy)

1.1. หมายถึง ความสามารถที่มีอยู่ในตัวของสิ่งต่าง ๆ ที่ให้แรงงานได้

1.2. ดวงอาทิตย์เป็นแหล่งกําเนิดพลังงานตามธรรมชาติที่ใหญ่ที่สุด

1.3. การจําแนกตามลักษณะการทํางาน

1.3.1. พลังงานศักย์ (potential energy) เป็นพลังงานที่แฝงอยู่ในสสาร

1.3.2. พลังงานจลน์ (kinetic energy) เป็นพลังงานของการเคลื่อนที่ของสสาร

1.4. การจําแนกตามรูปแบบของพลังงาน

1.4.1. พลังงานรังสี(radiant energy) เช่น แสง เสียง ความร้อน คลื่นวิทยุ อินฟราเรด อัลตราไวโอเลต รังสีเอ็กซ์

1.4.2. พลังงานเคมี(chemical energy) พลังงานเคมีที่มีอยู่ในน้ํามันเชื้อเพลิง เมื่อเผาไหม้

1.4.3. พลังงานไฟฟ้า (electrical energy) เป็นพลังงานที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนในวัตถุที่เป็นตัวนํา ไฟฟ้าจึงจัดเป็นพลังงานจลน์

1.4.4. พลังงานกล (mechanical energy) เป็นพลังงานที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่โดยตรง ช่วงเวลาที่วัตถุยังไม่เคลื่อนที่

1.4.5. พลังงานปรมาณู(atomic energy) เป็นพลังงานที่ถูกปล่อยออกมาจากสารกัมมันตรังสี

1.5. การจําแนกตามแหล่งที่มาของพลังงาน

1.5.1. พลังงานต้นกําเนิด (primary energy) เช่น แสงแดด ลม เชื้อเพลิงธรรมชาติน้ํามันดิบ

1.5.2. พลังงานแปรรูป (secondary energy) เช่น พลังงาน ไฟฟ้า ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม

1.6. การจําแนกตามลักษณะการใช้ประโยชน์

1.6.1. พลังงานหมุนเวียน (renewable energy resources) เช่น พลังงาน แสงอาทิตย์พลังงานลม พลังงานน้ํา

1.6.2. พลังงานหมดเปลือง (non-renewable energy resources) เช่น พลังงานจากน้ํามัน ถ่านหิน ก๊าซธรรมชาติและแร่นิวเคลียร์

1.7. การจําแนกตามลักษณะการผลิต

1.7.1. พลังงานตามแบบ (conventional energy) เช่น พลังงานน้ํา ปิโตรเลียม ถ่านหิน ก๊าซธรรมชาติ

1.7.2. พลังงานนอกแบบ (non-conventional energy) เช่น ก๊าซจากมวลชีวภาพ พลังงานความร้อนใต้พิภพ พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม

1.8. การจําแนกตามลักษณะทางการค้า

1.8.1. พลังงานทางพาณิชย์ (commercial energy) เช่น ไฟฟ้า น้ํามันปิโตรเลียม ก๊าซธรรมชาติ

1.8.2. พลังงานนอกพาณิชย์(non-commercial energy) เช่น ฟืน แกลบ ถ่านจากเศษวัสดุ

1.9. การเปลี่ยนรูปพลังงาน

1.9.1. กฎการอนุรักษ์พลังงาน “การเปลี่ยนรูปของพลังงานนี้ พลังงานยังคงมีอยู่เท่าเดิม ไม่มีการสูญหายไม่มีพลังงานเพิ่มขึ้นมาเองโดยปราศจากแหล่งที่มา”

1.9.2. การเปลี่ยนรูปพลังงานในสิ่งมีชีวิต

1.9.2.1. โฟโตเคมิคัล (photochemical)

1.9.2.2. อิเล็กโทรเคมิคัล (electrochemical)

1.9.2.3. เคมิคัล (chemical)

1.9.2.4. เมคานิคัล (mechanical)

2. 2.สิ่งแวดล้อม (Environment)

2.1. หมายถึง สถานะและปัจจัยที่อยู่ล้อมรอบสิ่งมีชีวิต และมีความสัมพันธ์แนบแน่นต่อการดํารงความเป็น สิ่งมีชีวิต โดยเป็นแหล่งที่ให้ รองรับ ถ่ายทอดสสาร พลังงาน และข้อมูลแก่สิ่งมีชีวิต

2.2. ลักษณะของสิ่งมีชีวิต

2.2.1. มีโครงสร้างที่มีระบบระเบียบและซับซ้อน

2.2.2. มีกลไกสําหรับรักษาความเป็นปกติของความเป็นสิ่งมีชีวิต (metabolism) ได้ด้วยตนเอง

2.2.3. สืบทอดดํารงเผ่าพันธุ์ของตนเองได้ด้วยระบบการถ่ายทอดทางพันธุกรรม

2.2.4. เติบโตและมีพัฒนาการตามระบบระเบียบที่พันธุกรรมของเผ่าพันธุ์กําหนด

2.2.5. มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมอย่างมีประสิทธิภาพ ปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อม

2.2.6. ตอบสนองต่อสิ่งเร้าทั้งจากภายในและภายนอก

2.3. ความสัมพันธ์ของกลุ่มสิ่งมีชีวิตในสิ่งแวดล้อม

2.3.1. ประชากร (population)

2.3.2. สังคมชีวิต (community)

2.3.3. ชีวนิเวศ (biome)

2.4. ระบบนิเวศ (Ecosystem)

2.4.1. สิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ

2.4.2. สิ่งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างขึ้น ได้แก่ สิ่งแวดล้อมทางวัตถุ เช่น อาคาร ถนน และสิ่งแวดล้อมทางสังคม ได้แก่ ศาสนา ความเชื่อ ประเพณี

3. พืชใช้พลังงานแสงจากดวงอาทิตย์มาใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง เพื่อเปลี่ยนรูปเป็นพลังงานเคมีเก็บไว้ในสารอาหาร

4. ข้อมูลเกี่ยวกับต้นทุนการผลิตที่ใช้วัตถุดิบที่แตกต่างกัน ซึ่งต้องรวมไปถึงต้นทุนในการป้องกันผลกระทบที่มีต่อสิ่งแวดล้อม จากการใช้วัตถุดิบแต่ละประเภทด้วย ประชาชนทุกคนต้องสามารถเข้าถึงข้อมูลเหล่านี้ได้ง่าย และเห็นว่าเป็นข้อมูลที่ถูกต้อง เชื่อถือได้ ทันสมัย ทันเหตุการณ์ เพื่อให้ทุกฝ่ายใช้ข้อมูลดังกล่าวประกอบการพิจารณาได้ อย่างมีประสิทธิผล

5. 4.มนุษย์ พลังงาน และสิ่งแวดล้อม

5.1. กล่าวได้ว่าสิ่งแวดล้อมเป็นแหล่งของปัจจัยในการดํารงชีวิตทั้งมวลของมนุษย์ ถึงแม้มนุษย์จะมีการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมได้ แต่ถ้าสิ่งแวดล้อม เปลี่ยนแปลงไปในทางที่ไม่เอื้อต่อการดํารงชีวิตอย่างรวดเร็วกว่า ประสิทธิภาพในการปรับตัวก็จะส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อ มนุษย์ มนุษย์มีสมองที่สามารถสร้างสิ่งใหม่ ๆ เพื่อตอบสนองความต้องการของมวลมนุษย์ด้วยกัน

6. 3.ความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับสิ่งแวดล้อม

6.1. กระบวนการถ่ายทอดพลังงาน

6.2. กระบวนการหมุนเวียนของสสาร

6.2.1. กฎของการทนทาน (Law of Tolerance) สิ่งมีชีวิตสามารถดํารงชีวิตอยู่ได้ดี

6.2.2. กฎน้อยที่สุด (Law of Minimum) สิ่งมีชีวิตจะดํารงความมีชีวิตอยู่ได้เมื่อได้รับสสารที่จําเป็นครบทุกชนิดใน ปริมาณที่เหมาะสม

6.2.2.1. กฎการอนุรักษ์สสาร (Law of Conservation of Matter) ในวงจรการหมุนเวียนของสสารระหว่างสิ่งมีชีวิตกับ สิ่งแวดล้อมจะมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบของสสาร สลับไปมาระหว่างการเป็นอินทรียสารกับอนินทรียสาร

6.2.2.1.1. ผู้ผลิต เช่น พืช

6.2.2.1.2. ผู้บริโภค เช่น สัตว์

6.2.2.1.3. ผู้ย่อยสลาย เช่น จุลินทรีย์

6.3. กระบวนการถ่ายทอดข้อมูล

6.3.1. “มีปฏิสัมพันธ์ กับสิ่งแวดล้อมอย่างมีประสิทธิภาพ ปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อม”

7. 6.ความเชื่อมโยงระหว่างพลังงานกับปัญหาสิ่งแวดล้อม

7.1. ระดับท้องถิ่นหรือระดับชุมชน มีขนาดความรุนแรงไม่มากนัก วิธีการแก้ไขไม่ยุ่งยาก มีผลกระทบในวงแคบ

7.2. ระดับประเทศหรือระดับภูมิภาค มีขนาดความรุนแรงและความซับซ้อนค่อนข้างมาก และมีผลกระทบในวงกว้างกว่าปัญหาระดับท้องถิ่น เช่น น้ำท่วม

7.3. ระดับโลก เป็นปัญหาที่มีสาเหตุเริ่มต้นจากปัญหาระดับภูมิภาค สะสมและรวมกันเป็นเวลานาน เช่น การเกิด ภาวะโลกร้อน

8. 5.แหล่งพลังงานและความต้องการพลังงาน