การรู้เท่าทันสื่อดิจิทัลและการรู้เท่าทันสื่อ

Jetzt loslegen. Gratis!
oder registrieren mit Ihrer E-Mail-Adresse
การรู้เท่าทันสื่อดิจิทัลและการรู้เท่าทันสื่อ von Mind Map: การรู้เท่าทันสื่อดิจิทัลและการรู้เท่าทันสื่อ

1. ประโยชน์ของการรู้เท่าทันสื่อ

1.1. การรู้เท่าทันสื่อ คือ การที่ไม่หลงเชื่อเนื้อหาที่ได้อ่าน ได้ฟัง ถ้าจะต้องสามารถใช้ความคิดและประสบการณ์ในการวิเคราะห์ รู้จักตั้งคำถามว่า สิ่งนั้นเป็นจริงหรือไม่จริง มีแหล่งอ้างอิงที่น่าเชื่อถือมากน้อยเพียงใด ซึ่งการรู้เท่าทันสื่อมีประโยชน์ ดังนี้

1.1.1. 1)ทำให้เกิดความตระหนักในความสำคัญของการเลือกและจัดสรรเวลาของตัวเองในการใช่สื่อ

1.1.2. 2)การเรียนรู้ทักษะ การดูเชิงวิพากษ์ ช่วยให้สามารถวิเคราะห์และตั้งคำถามว่า สื่อถูกสร้างขึ้นได้อย่างไร และควรเชื่อสื่อหรือไม่

1.1.3. 3)ความสามารถในการวิเคราะห์สื่อในเชิงสังคม การเมือง เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม จนนำไปสู่การสร้างเวทีทางสังคม

2. ผลกระทบจากการได้รับข้อมูลที่ผิดพลาด

2.1. 1. การถูกโจรกรรมข้อมูลที่สำคัญเช่นข้อมูลบัญชีธนาคารเป็นการหลอกล่อโดยใช้จิตวิทยาผ่านระบบคอมนิ้วเตอร์

2.2. 2. การถูกโจมตีโดยซอฟแวร์ที่มุ่งประสงค์ร้ายจากผู้ไม่หวังดีอาจส่งผลถึงสถานจิตใจผู้ใช้งาน

2.3. 3. การถูกล่อลวงด้วยข้อมูลอันเป็นเท็จเช่นข้อมูลละเมิดลิขสิทธิ์และข้อมูลที่ละเมิดศีลธรรม

3. หมายถึงความสามารถที่จะเข้าถึงข้อมูลวิเคราะห์สารประเม็นสารและสื่อความเนื้อหาสารในรูปแบบต่างๆ

4. การรู้เท่าทันสื่อดิจอทัล 8 ด้าน

4.1. 1. การใช้อินเทอร์เน็ตอย่างปลอดภัย

4.2. 2. การปกป้องความเป็นส่วนตัวและข้อมูล

4.3. 3. การรักษาความสัมพันธ์และการสื่อสาร

4.4. 4. การปกป้องข้อมูลและแก้ปัญหาการถูก-กลั่นแกล้งทางออนไลน์

4.5. 5. การปกป้องข้อมูลและชื่อเสียงทางออนไลน์

4.6. 6. การสร้างอัตลักษณ์ส่วนตัวในโลกออนไลน์

4.7. 7. ความรู้เท่าทันข้อมูลดิจิทัล

4.8. 8. การใช้ข้อมูลดิจิทัลอย่างสร้างสรรค์และไม่ละเมิดลิขสิทธิ์

5. การรู้เท่าทันสื่อ 4 ระดับ

5.1. -ระดับควาตระหนัก

5.2. -ระดับความเข้าใจ

5.3. -ระดับวเคราะห์และตีความ

5.4. -ระดับการประเมินและการตัดสินใจ

6. ผลกระทบของข้อมูลที่ผิดพลาด

6.1. 1. การนำเอาข้อมูลบุคคลไปเผยแพร่ต่อสาธารณะซึ่งข้อมูลอาจเป็นเท็จอาจก่อให้เกิดความเสียหาย

6.2. 2. เมื่อแชร์ข้อมูลต่างๆลงอินเทอร์เน็ตอาจทำให้ถูกโจรกรรมข้อมูลจนอาจเกิดอาชญากรรมบนเครือข่าย

6.3. 3. การได้รับข้อมูลที่ผิดพลาดอาจส่งผลต่อผู้คนที่เกี่ยวข้องที่ไม่มีความผิด แต่ถูกกล่าวอ้างให้เกิดความเสียหาย

6.4. 4. การแชร์ข้อมูลที่เป็นเท็จลงในโลกออนไลนอาจทำให้ผู้แชร์ข้อมูลเท็จถูกดำเนินคดี