เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๘

Project Control, Project Closing, Timeline template

Jetzt loslegen. Gratis!
oder registrieren mit Ihrer E-Mail-Adresse
เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๘ von Mind Map: เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๘

1. ให้ยกเลิก ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง “เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๘” ลงวันที่ ๒๑ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๘

1.1. 3.1 Final Product Evaluation

1.1.1. Prepare Product Evaluation

1.1.2. Conduct Product Evaluation

1.1.3. Initiate Maintenance Process

1.2. 3.2 Project Completion

1.2.1. Prepare for Project Closure Meeting

1.2.2. Conduct Project Closure Meeting

1.2.3. Follow Up Project Closure Meeting

1.3. 3.2 Process Improvement

1.3.1. Prepare Project Review

1.3.2. Conduct Project Review

1.3.3. Implement Process Improvement

2. ประกาศกระทรวงศึกษาธิการนี้เรียกว่า “เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๘”

2.1. 1.1 Project Kick Off

2.1.1. Recruit Project Sponsor

2.1.2. Recruit Project Manager

2.1.3. Review Related Projects and Lessons Learned

2.1.4. Prepare Project Initiation Plan

2.1.5. Brief the Initial Project Team

2.1.6. Review Project Kick-off Plans and Presentation Map

2.1.7. Hold Project Kick-off Meeting

2.2. 1.2 Project Objective & Scope

2.2.1. Establish Project Objective

2.2.2. Establish Project Scope

2.2.3. Map Requirements

2.2.4. Map Solution

2.2.5. Map Training Requirement

2.2.6. Review Project Scope

2.3. 1.3 Project Schedule and Budget

2.3.1. Determine Project Approach, Stages and Steps

2.3.2. Estimate Project Duration

2.3.3. Establish Resource Requirements

2.3.4. Prepare Project Schedule and Budget

2.3.5. Prepare Work breakdown structure

2.3.6. Document Success Criteria

2.3.7. Review Project Schedule

2.4. 1.4 Project Organization

2.4.1. Identify Project Resources

2.4.2. Recruit Project Steering Committee

2.4.3. Recruit Project Coordinators

2.4.4. Identify / Recruit Key Stakeholders

2.4.5. Determine Training Requirements

2.4.6. Map the Project Organization Chart

2.4.7. Review Project Organization

2.5. 1.5 Project Control Procedures

2.5.1. Establish Project Administration Procedures

2.5.2. Establish Quality Control Procedures

2.5.3. Establish Progress Control Procedures

2.5.4. Establish Change Control Procedures

2.5.5. Establish Issue Resolution Procedure

2.5.6. Review Project Control Procedures

2.6. 1.6 Develop Business Case

2.6.1. Estimate Project Costs

2.6.2. Identify and Quantify Benefits

2.6.3. Determine Break-even Point

2.6.4. Analyze Risk

2.6.5. Review Business Case

2.7. 1.7 Project Initiation Stage Assessment

2.7.1. Prepare Initiation Stage Assessment

2.7.2. Review Initiation Stage Assessment

2.7.3. Follow-Up Initiation Stage Assessment

2.7.4. Compile Project Initiation Report

3. ให้ใช้ประกาศกระทรวงนี้สำหรับหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต

3.1. 2.1 Stage Kick-Off

3.1.1. Establish checkpoints

3.1.2. Acquire team resources for stage

3.1.3. Conduct stage kick-off meeting

3.2. 2.2 Project Steering Committee Meetings

3.2.1. Determine Frequency of Meetings

3.2.2. Schedule Meetings

3.2.3. Brief Project Board

3.2.4. Prepare Meetings

3.2.5. Conduct Meetings

3.2.6. Follow-up Meeting

3.3. 2.3 Quality Control

3.3.1. Schedule Quality Review Meeting

3.3.2. Prepare for Quality Review Meeting

3.3.3. Conduct Quality Review Meeting

3.3.4. Follow-up Quality Review Meeting

3.4. 2.4 Progress Control

3.4.1. Update Project Schedule

3.4.2. Update Budget / Costs

3.4.3. Conduct Team Status Review

3.4.4. Create Status Report

3.5. 2.5 Change Control

3.5.1. Request Changes

3.5.2. Identify Alternative Solutions

3.5.3. Conduct Steering Committee Meeting

3.5.4. Document Change Responses

3.5.5. Implement Change(s)

3.6. 2.6 Issues Management

3.6.1. Identify Project Issues

3.6.2. Assess Impact of Issues

3.6.3. Assign Resources

3.6.4. Resolve Issue

3.7. 2.7 Stage Closure Assessment

3.7.1. Determine Next Stage Tasks

3.7.2. Determine Task Dependencies

3.7.3. Estimate Effort

3.7.4. Allocate Resources

3.7.5. Prepare Next Stage Schedule

3.7.6. Prepare Next Stage Budget

3.7.7. Update Project Schedule

3.7.8. Update Project Budget

3.7.9. Review Business Case

3.7.10. Review Project Organization

3.7.11. Review Project Scope

3.7.12. Prepare Stage Assessment

3.7.13. Review Stage Assessment

3.7.14. Follow-Up Stage Assessment

3.7.15. Compile Stage Closure Report

4. จำนวน คุณวุฒิ และคุณสมบัติของอาจารย์

4.1. ประกาศนียบัตรบัณฑิต

4.2. ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง

4.3. ปริญญาโท

5. ภาระงานที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระ

5.1. อาจารย์ประจำหลักสูตร ๑ คน ให้เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก ของนักศึกษาปริญญาโทและปริญญาเอกตามหลักเกณฑ์

5.2. อาจารย์ประจำหลักสูตร ๑ คน ให้เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาการค้นคว้าอิสระ ของนักศึกษาปริญญาโทได้ไม่เกิน ๑๕ คน

5.3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ต้องทำหน้าที่อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และ/ หรืออาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ และ/หรืออาจารย์ผู้สอนในหลักสูตรนั้นด้วย

6. คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

7. การลงทะเบียนเรียนและระยะเวลาการศึกษา

8. เกณฑ์การสำเร็จการศึกษา

9. ชื่อประกาศนียบัตรและชื่อปริญญา

10. การประกันคุณภาพของหลักสูตร

11. การพัฒนาหลักสูตร

12. ในกรณีที่ไม่สามารถปฏิบัติตามแนวทาง

13. ในประกาศกระทรวงนี้

13.1. “อาจารย์ประจำ” หมายถึง บุคคลที่ดำรงตำแหน่งอาจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ ในสถาบันอุดมศึกษาที่เปิดสอนหลักสูตรนั้น ที่มีหน้าที่รับผิดชอบตามพันธกิจของการอุดมศึกษา และปฏิบัติหน้าที่เต็มเวลา

13.2. “อาจารย์ประจำหลักสูตร” หมายถึง อาจารย์ประจำที่มีคุณวุฒิตรงหรือสัมพันธ์กับสาขาวิชา ของหลักสูตรที่เปิดสอน ซึ่งมีหน้าที่สอนและค้นคว้าวิจัยในสาขาวิชาดังกล่าว ทั้งนี้ สามารถเป็นอาจารย์ ประจำหลักสูตรหลายหลักสูตรได้ในเวลาเดียวกัน แต่ต้องเป็นหลักสูตรที่อาจารย์ผู้นั้นมีคุณวุฒิตรง หรือสัมพันธ์กับสาขาวิชาของหลักสูตร

13.3. “อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร” หมายถึง อาจารย์ประจำหลักสูตรที่มีภาระหน้าที่ในการบริหาร และพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน ตั้งแต่การวางแผน การควบคุมคุณภาพ การติดตามประเมินผล และการพัฒนาหลักสูตร อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรต้องอยู่ประจำหลักสูตรนั้นตลอดระยะเวลาที่จัดการศึกษา โดยจะเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเกินกว่า ๑ หลักสูตรในเวลาเดียวกันไม่ได้ ยกเว้นพหุวิทยาการ หรือสหวิทยาการ ให้เป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรได้อีกหนึ่งหลักสูตรและอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร สามารถซ้ำได้ไม่เกิน ๒ คน

13.4. “อาจารย์พิเศษ” หมายถึง ผู้สอนที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำ

14. ปรัชญา และวัตถุประสงค์

14.1. หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตและประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง

14.2. หลักสูตรปริญญาโทและปริญญาเอก

15. ระบบการจัดการศึกษา ใช้ระบบทวิภาค

15.1. ใช้ระบบทวิภาค โดย ๑ ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น ๒ ภาค การศึกษาปกติ ๑ ภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า ๑๕ สัปดาห์ สถาบันอุดมศึกษา ที่เปิดการศึกษาภาคฤดูร้อน ให้กำหนดระยะเวลาและจำนวนหน่วยกิต โดยมีสัดส่วนเทียบเคียงกันได้กับ การศึกษาภาคปกติ

16. การคิดหน่วยกิต

17. โครงสร้างหลักสูตร

17.1. ประกาศนียบัตรบัณฑิตและประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง ให้มีจำนวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า ๒๔ หน่วยกิต

17.2. ปริญญาโท ให้มีจำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า ๓๖ หน่วยกิต โดยแบ่งการศึกษาเป็น ๒ แผน

17.3. ปริญญาเอก แบ่งการศึกษาเป็น ๒ แบบ โดยเน้นการวิจัยเพื่อพัฒนานักวิชาการ และนักวิชาชีพชั้นสูง

18. การรับและเทียบโอนหน่วยกิต

18.1. สถาบันอุดมศึกษาอาจยกเว้นหรือเทียบโอนหน่วยกิตรายวิชา หรือวิทยานิพนธ์จากหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต และหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา ให้กับนักศึกษา ที่มีความรู้ความสามารถ ที่สามารถวัดมาตรฐานได้