บทที่3 การสื่อสารข้อมูล

Jetzt loslegen. Gratis!
oder registrieren mit Ihrer E-Mail-Adresse
บทที่3 การสื่อสารข้อมูล von Mind Map: บทที่3 การสื่อสารข้อมูล

1. สื่อกลางส่งข้อมูล

1.1. การส่งสัญญาณบนสื่อกลางแบบเบสแบนด์ (Baseband)

1.1.1. รสื่อสาร เพียงช่องทางเดียวสำ หรับการส่งสัญญาณดิจิทัลในแต่ละครั้งในช่วงเวลาหนึ่ง

1.1.2. ส่วนใหญ่มักใช้การส่งสัญญาณชนิดนี้เนื่องจากเป็นวิธีการที่ไม่ซับซ้อน

1.2. การส่งสัญญาณบนสื่อกลางแบบบรอดแบนด์ (Broadband)

1.2.1. สื่อสารหลายช่องทางเพื่อส่งสัญญาณแอนะล็อก (Analog)

1.2.2. ข้อมูลสามารถจัดส่งหรือลำ เลียง บนช่วงความถี่ที่แตกต่างกัน

1.2.3. ปัจจุบันมักมีการนำ เทคโนโลยีบรอดแบนด์มาใช้งานตามบ้านเรือนที่พัก หรือในสถานศึกษามากขึ้น

2. ชนิดของสื่อกลางส่งข้อมูล

2.1. สื่อกลางส่งข้อมูลแบบใช้สาย

2.1.1. จะใช้สายเพื่อการลำ เลียงข้อมูลระหว่างกัน

2.1.2. สายคู่บิดเกลียว สายโคแอกซ์และสายใยแก้วนำ แสง สายเคเบิลทั้งสามชนิดนี้ ปกติ จะนำมาใช้งานภายในตึกสำ นักงานหรือฝังไว้ใต้ดิน

2.1.3. มี 3 ชนิด

2.1.3.1. สายคู่บิดเกลียว (TwistedPair Cable)

2.1.3.1.1. แต่ละคู่ทำจากทองแดง 2 เส้น และมีฉนวนกันความร้อนเพื่อป้องกันการรบกวนจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

2.1.3.2. สายโคแอกซ์ (Coaxial Cable)

2.1.3.2.1. ประกอบด้วยตัวนำ ที่ใช้ในการส่งข้อมูลเส้นหนึ่ง อยู่ตรงกลางอีกเส้นหนึ่งเป็นสายดิน ระหว่างตัวนำสองเส้นนี้จะมีฉนวนพลาสติกกั้น

2.1.3.2.2. สายโคแอกซ์แบบหนา จะส่งข้อมูลได้ไกลกว่าแบบบาง แต่มีราคาแพงและติดตั้งได้ยากกว่า

2.1.3.3. สายใยแก้วนำแสง (Fiber Optic)

2.1.3.3.1. ทำ จากแก้วหรือพลาสติกมีลักษณะเป็นเส้นบางๆ คล้ายเส้นใยแก้วจะทำตัวเป็นสื่อในการส่งแสงเลเซอร

2.2. สื่อกลางส่งข้อมูลแบบไร้สาย

2.2.1. ะใช้ลำเลียงข้อมูลผ่านอากาศซึ่งภายในอากาศจะมีพลังงานคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า แพร่กระจายอยู่ทั่วไป

2.2.2. มี 5 ชนิด

2.2.2.1. คลื่นวิทยุ (Cellular Radio)

2.2.2.1.1. สามารถ แพร่ได้บนระยะทางไกลระหว่างเมืองหรือระหว่างประเทศ

2.2.2.1.2. คลื่นวิทยุนั้นมีความเร็วค่อนข้างตำ ่ อีกทั้งไวต่อสัญญาณรบกวน

2.2.2.2. คลื่นไมโครเวฟ (Microwave)

2.2.2.2.1. คลื่นความถี่วิทยุชนิดหนึ่งที่มีความถี่อยู่ระหว่าง0.3GHz – 300GHz

2.2.2.2.2. การใช้งานนั้นส่วนมากนิยมใช้ความถี่ระหว่าง 1GHz – 60GHz เพราะเป็นย่านความถี่ ที่สามารถผลิตขึ้นได้ด้วยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์รตซ์(GHz)

2.2.2.2.3. แต่ละสถานีจึงจำ เป็นตั้งอยู่ในที่สูง เช่น ดาดฟ้า ตึกสูง หรือยอดดอย

2.2.2.3. สัญญาณดาวเทียม (Satellite)

2.2.2.3.1. เป็นการรับส่งสัญญาณข้อมูลอาจจะเป็นแบบจุดต่อ จุด (Point-to-Point) หรือแบบแพร่สัญญาณ (Broadcast)

2.2.2.3.2. ครื่องทบทวนสัญญาณของดาวเทียมเรียกว่า (Transponder) ไปยังสถานีปลายทางการส่ง สัญญาณข้อมูลขึ้นไปยังดาวเทียมเรียกว่า “สัญญาณอัป-ลิงก์”

2.2.2.4. สัญญาณบลูทูธ (Bluetooth)

2.2.2.4.1. เป็นระบบการสื่อสารของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์แบบ สองทางที่ใช้เทคนิคการส่งคลื่นวิทยุระยะสั้น

2.2.2.4.2. เป็นสื่อกลางในการติดต่อ สื่อสาร ระหว่างอุปกรณ์ต่างชนิดกัน โดยปราศจากการใช้สายเคเบิ้ล หรือ สายสัญญาณเชื่อมต่อ

2.2.2.5. อินฟราเรด (Infrared)

2.2.2.5.1. เป็นคลื่นความถี่สั้น ซึ่งมีความคล้ายคลึงกับคลื่น ไมโครเวฟตรงที่การส่งสัญญาณเป็นแนวเส้นตรงในระดับสายตาเหมือนกัน

2.2.2.5.2. นำมา ใช้งานสำ หรับการสื่อสารระยะใกล้โดยมีอุปกรณ์หลายชิ้นในปัจจุบัน

2.2.2.6. สัญญาณไวร์เลส (Wireless)

2.2.2.6.1. ลักษณะของสัญญาณไวร์เลสหรือระบบเครือข่ายแบบไร้สาย

2.2.2.6.2. เทคโนโลยีที่ช่วยให้การติดต่อสื่อสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ 2 เครื่อง หรือกลุ่มของ เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถสื่อสารกันได้

2.2.2.6.3. สามารถเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์อีกเครื่องโดยไม่ต้องใช้สายสัญณาญเชื่อมต่อ แต่ใช้คลื่นวิทยุแทน

3. การพิจารณาสื่อกลางส่งข้อมูล

3.1. ต้นทุน

3.1.1. พิจารณาต้นทุนของตัวอุปกรณ์ที่ใช้

3.1.2. พิจารณาต้นทุนการติดตั้งอุปกรณ์

3.1.3. เปรียบเทียบราคาของอุปกรณ์ และประสิทธิภาพการใช้งาน

3.2. ความเร็ว

3.2.1. ความเร็วในการส่งผ่านสัญญาณ จำานวนบิตต่อวินาที

3.2.2. ความเร็วในการแพร่สัญญาณ ข้อมูลที่สามารถเคลื่อนที่ผ่านสื่อกลางไปได้

3.3. ระยะทาง

3.3.1. การเลือกใช้สื่อกลางแต่ละชนิดจะต้องทราบข้อจำากัดด้านระยะทาง

3.3.2. เพื่อที่จะต้องทำาการติดตั้งอุปกรณ์ ทบทวนสัญญาณเมื่อใช้สื่อกลางในระยะไกล

3.4. สภาพแวดล้อม

3.4.1. การเลือกใช้สื่อกลางควรเลือกสื่อกลางที่ทนทาน ต่อสัญญาณรบกวนได้ดี

3.5. ความปลอดภัยของข้อมูล

3.5.1. นการสื่อสารข้อมูล จะต้องมีการเข้ารหัสข้อมูลก่อนที่จะส่งไปในสื่อกลาง

4. ความรู้เบื้องต้น

4.1. การสื่อสารข้อมูล คือ การโอนถ่าย หรือแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างต้นทางกับปลายทางโดยผ่านอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หรือคอมพิวเตอร์

4.2. ระบบการสื่อสารข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ต้องอาศัยอุปกรณ์ ช่วยในการถ่ายโอนหรือเคลื่อนย้ายข้อมูล

4.3. ต้อง อาศัยสื่อกลางในการนำข้อมูลจากต้นทางไปยังปลายทาง

5. องค์ประกอบพื้นฐาน

5.1. 1.ผู้ส่งและรับอุปกรณ์Receiver/Sender

5.1.1. DataTerminalEquipment (DTE)แหล่งกำ เนิดและรับข้อมูล

5.1.1.1. คอมพิวเตอร์

5.1.1.2. เทอร์มินัลคอมพิวเตอร

5.1.1.3. เมนเฟรม

5.1.1.4. เครื่องพิมพ์

5.1.2. Data Communication Equipment (DCE) เป็นอุปกรณ์ในการรับ/ส่งข้อมูล

5.1.2.1. เมนเฟรม

5.1.2.2. จานดาวเทียม

5.1.2.3. Fibrotic

5.1.2.4. Infrared

5.1.2.5. Wireless

5.2. โปรโตคอล (Protocol)/ซอฟต์แวร์ (Software)

5.2.1. โปรโตคอล

5.2.1.1. กฎระเบียบที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลเพื่อให้ผู้รับและผู้ส่ง ข้อมูลเข้าใจกันสามารถติดต่อสื่อสารกันได้

5.2.1.1.1. x.25 SDLC TCP/IP

5.2.2. ซอฟแวร์

5.2.2.1. ทำ หน้าที่ในการดำ เนินงานในการสื่อสารข้อมูลเป็นไปตามที่ โปรแกรมกำ หนด

5.2.2.1.1. Windows หรือ Novell’s Netware เ

5.3. ข่าวสาร (Message)

5.3.1. สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ที่ส่งผ่านไปในระบบสื่อสาร บางครั้งเรียกว่าสารสนเทศ 4 รูปแบบ

5.3.1.1. เสียง (Voice)

5.3.1.2. ข้อมูล (Data)

5.3.1.3. ข้อความ (Text)

5.3.1.4. ภาพ (Picture)

5.4. สื่อกลาง (Medium)

5.4.1. ใช้ในการสื่อสารข้อมูลจากต้นกำ เนิดไปยังปลายทางสื่อกลางนี้อาจจะเป็น เส้น ลวดสายไฟ สายเคเบิล หรือสายไฟเบอร์ออปติก

6. เกณฑ์วัดประสิทธิภาพเครือข่าย

6.1. สมรรถนะ

6.1.1. จำานวนผู้ใช้งาน

6.1.1.1. หากมีผู้ใช้มาก ประสิทธิภาำก็จะลดลง

6.1.2. ชนิดสื่อกลางที่ใช้ส่งข้อมูล

6.1.2.1. ใช้สื่อกลางที่เหมาะสมกับเครือข่ายที่ใช้งานอย

6.1.3. อุปกรณ์ฮาร์ดแวร

6.1.3.1. ประสิทธิภาพของฮาร์ดแวร์ส่งผลต่อความเร็วในการส่งผ่านข้อมูล

6.1.4. ซอฟต์แวร

6.1.4.1. ส่วนสำคัญที่ส่งผลต่อสมรรถนะโดยรวมของเครือข่าย

6.2. ความน่าเชื่อถือ

6.2.1. ความถี่ของความล้มเหลว

6.2.1.1. การออกแบบเครือข่ายที่ไม่ได้รับการวางแผนที่ดี

6.2.2. ระยะเวลาในการกู้คืน

6.2.2.1. ใช้ระยะเวลาในการกู้คืนในระยะเวลาอันสั้น ย่อมส่งผล ต่อประสิทธิภาพที่ดีของเครือข่าย

6.2.3. ความมั่นคงต่อความล้มเหลว

6.2.3.1. นต้องออกแบบระบบเครือข่ายที่มีระบบป้องกันที่ดี

6.3. ความปลอดภัย

6.3.1. การป้องกันบุคคลที่ไม่มีสิทธิ์ในการเข้าถึงข้อมูล

6.3.2. การป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์ควรติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัส และต้องปรับปรุง (Update) โปรแกรมไวรัสให้ทันสมัยอยู่เสมอ