นวัตกรรมและเทคโนโลยี

Lancez-Vous. C'est gratuit
ou s'inscrire avec votre adresse e-mail
นวัตกรรมและเทคโนโลยี par Mind Map: นวัตกรรมและเทคโนโลยี

1. นวัตกรรม

1.1. องค์ประกอบของนวัตกรรม

1.1.1. 1.ความใหม่ (Newness)

1.1.2. 2. ประโยชน์ในเชิงเศรษฐกิจ (Economic Benefits)

1.1.3. 3. การใช้ความรู้และความคิดสร้างสรรค์ (Knowledge and Creativity Idea)

1.2. กระบวนการนวัตกรรม

1.2.1. 1.การค้นหา(Searching)

1.2.2. 2. การเลือกสรร(Selecting)

1.2.3. 3. การนำไปปฏิบัติ( Implementing)

1.2.3.1. 3.1 การรับ (Acquring)

1.2.3.2. 3.2 การปฏิบัติ(Executing)

1.2.3.3. 3.3 การนำเสนอ (Launching)

1.2.3.4. 3.4 การรักษาสภาพ(Sustaining)

1.2.4. 4. การเรียนรู้( Learning)

2. Hardware

2.1. 1. หน่วยประมวลผลกลาง (CPU)

2.2. 2. หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)

2.3. 3. หน่วยแสดงผล (Output Unit)

2.4. 4. หน่วยความจำ (Memory Unit)

2.5. 5. หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง (Secondary Storage)

3. Software

3.1. ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software)

3.1.1. ระบบปฏิบัติการ

3.1.2. ตัวแปลภาษา

3.2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ( Application Softwaer)

3.2.1. ซอฟต์แวร์สำเร็จ

3.2.2. ซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะ

4. เทคโนโลยีสารสนเทศ

4.1. เมื่อรวมคำว่า เทคโนโลยี กับ สารสนเทศ เข้าด้วยกัน จึงหมายถึง เทคโนโลยีที่ใช้จัดการสารสนเทศ เป็นเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องตั้งแต่การรวบรวมการจัดเก็บข้อมูล การประมวลผล การพิมพ์ การสร้างรายงาน การสื่อสารข้อมูล ฯลฯ เทคโนโลยีสารสนเทศจะรวมไปถึงเทคโนโลยีที่ทำให้เกิดระบบการให้บริการ การใช้ และการดูแลข้อมูล เทคโนโลยีสารสนเทศจึงมีความหมายที่กว้างขวางมาก นักเรียนจะได้พบกับสิ่งรอบ ๆ ตัวที่เกี่ยวกับการใช้สารสนเทศอยู่มาก ดังนี้

4.1.1. การเก็บรวบรวมข้อมูล

4.1.2. การประมวลผล

4.1.3. การแสดงผลลัพธ์

4.1.4. การทำสำเนา

4.1.5. การสื่อสารโทรคมนาคม

4.2. ลักษณะสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยพื้นฐานของเทคโนโลยีย่อมมีประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศชาติให้เจริญก้าวหน้าได้ แต่เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับวิถีความเป็นอยู่ของสังคมสมัยใหม่อยู่มาก ลักษณะเด่นที่สำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศมีดังนี้

4.2.1. เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยเพิ่มผลผลิต ลดต้นทุน และเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน

4.2.2. เทคโนโลยีสารสนเทศเปลี่ยนรูปแบบการบริการเป็นแบบกระจาย

4.2.3. เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นสิ่งที่จำเป็น สำหรับการดำเนินการในหน่วยงานต่าง ๆ

4.2.4. เทคโนโลยีสารสนเทศเกี่ยวข้องกับคนทุกระดับ

5. พัฒนาการคอมพิวเตอร์

5.1. 1. เครื่องคำนวณยุคประวัติศาสตร์

5.2. 2. คอมพิวเตอร์ยุคหลอดสูญญากาศ (พ.ศ.2488 - 2501)

5.3. 3. คอมพิวเตอร์ยุคทรานซิสเตอร์ (พ.ศ.2500-2507)

5.4. 4. คอมพิวเตอร์ยุควงจรรวม (พ.ศ.2508-2512)

5.5. 5. คอมพิวเตอร์ยุควีแอลเอสไอ (พ.ศ.2513-2532)

5.6. 6. คอมพิวเตอร์ยุคเครือข่าย (พ.ศ.2533-ปัจจุบัน)

6. หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์

6.1. 1. รับข้อมูล คอมพิวเตอร์จะรับข้อมูลและคำสั่งผ่านอุปกรณ์นำเข้าข้อมูลและคำสั่ง คือ คีย์บอร์ด เมาส์ และสแกนเนอร์ เป็นต้น

6.2. 2. ประมวลผลข้อมูล หรือ CPU (Central Processing Unit) ใช้คำนวณและประมวณผลคำสั่งต่างๆ ตามโปรแกรมที่กำหนด

6.3. 3. จัดเก็บข้อมูล คอมพิวเตอร์จะเก็บข้อมูลลงในอุปกรณ์ที่เก็บข้อมูล เพื่อให้สามารถนำมาใช้ใหม่ได้ในอนาคต เช่น ฮาร์ดดิสก์ ดิสเกตด์ แผ่นซีดี และอุปกรณ์เก็บข้อมูลชนิดพอร์ตยูเอสบีไดร์ ซึ่งหน่วยเก็บข้อมวลนี้สามารถ แบ่งออกได้ 2 ประเภท คือ

6.3.1. 3.1 หน่วยควมจำหลัก สามารถแบ่งตามลักษณะการเก็บข้อมูลได้ดังนี้คือ

6.3.1.1. 3.1.1) หน่วยความจำแบบลบเลือนได้ คือ หากเกิดไฟดับระหว่างใช้งาน ข้อมูลจะหาย เรียกว่า แรม (RAM)

6.3.1.2. (3.1.2) หน่วยความจำแบบลบเลือนไม่ได้ คือ หน่วยความจำถาวร แม้ไฟจะดับข้อมูลก็จะยังอยู่เหมือนเดิม เรียกว่า รอม (ROM)

6.3.2. 3.2 หน่วยความจำสำรอง คือ หน่วยความจำที่ช่วยให้คอมพิวเตอร์สามารถเก็บข้อมูลได้มากขึ้นได้แก่ ฮาร์ดดิสก์ ดิสเกตด์ แผ่นซีดี และอุปกรณ์เก็บข้อมูลชนิดพอร์ต ยูเอสบี

6.4. 4. แสดงผลข้อมูล เมื่อทำการประมวลผลแล้ว คอมพิวเตอร์จะแสดงผลลัพธ์ผ่านอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่แสดงข้อมูล เช่น หากเป็นรูปภาพกราฟิกก็จะแสดงผลทางจอภาพ ถ้าเป็นงานเอกสารก็จะแสดงผลทางเครื่องพิมพ์ หรือหากเป็นในรูปแบบของเสียงก็จะแสดงผลออกทางลำโพง เป็นต้น