หน่วยที่1 ความรู้เกี่ยวกับภาษีอากร

Lancez-Vous. C'est gratuit
ou s'inscrire avec votre adresse e-mail
หน่วยที่1 ความรู้เกี่ยวกับภาษีอากร par Mind Map: หน่วยที่1 ความรู้เกี่ยวกับภาษีอากร

1. สมัยกรุงธนบุรีและสมัยรัตนโกสินทร์(ร.1-ร.3)

1.1. สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ได้ดำเนินตามแนวทางเมื่อครั้งปลายสมัยกรุงศรีอยุธยา ในทุกๆด้าน

1.2. ร.4ได้จัดเก็บภาษีที่กำหนดขึ้นใหม่14ประเภท

1.3. ร.5ปรับปรุงภาษีที่มีอยู่เดิมให้เป็นธรรมยิ่งขึ้น

1.4. ร.6 ได้มีการจัดตั้งกรมสรรพากรขึ้นเพื่อจัดเก็บภาษีอากรและค่าธรรมเนียมต่างๆ

1.5. ร.7 ได้ออกพระราชบัญญัติจัดเก็บภาษีขึ้นใหม่ ดังนี้

1.5.1. ภาษีเงินเดือน พ.ศ.2475

1.5.2. ภาษีเงินได้ พ.ศ.2475

1.5.3. ภาษีการค้า พ.ศ.2475

1.5.4. ภาษีโรงเรือนและที่ดิน พ.ศ.2475

1.5.5. ภาษีการธนาคารและการประกันภัย พ.ศ.2476

1.6. ร.8

1.6.1. ได้มีการออกพระราชบัญญัติให้ใช้บทบัญญัติแห่งประมวลรัษฎากรพ.ศ. 2481 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่1เมษายนพ.ศ.2481เป็นต้นไป

1.6.2. พระราชบัญญัติให้ใช้บทบัญญัติแห่งประมวลรัษฎากรพ.ศ. 2481 ได้มีการแก้ไขมาเป็นลำดับจนถึงปัจจุบันโดยมีภาษีอากรที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน ดังนี้

1.6.2.1. 1.ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

1.6.2.2. 2.ภาษีเงินได้นิติบุคคล

1.6.2.3. 3.ภาษีมูลค่าเพิ่ม

1.6.2.4. 4.ภาษีธุรกิจเฉพาะ

1.6.2.5. 5.อากรแสตมป์

2. เลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากร

2.1. บุคคลที่ต้องมีเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากร

2.1.1. 1.คนต่างด้าว

2.1.2. 2.ห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล

2.1.3. 3.กกองมรดกที่ยังมิได้แบ่ง

2.1.4. 4.บุคคลธรรมดาที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มหรือภาษีธุรกิจเฉพาะ

2.1.5. 5.ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคล

3. ลักษณะของภาษีอากรที่ดี

3.1. ดังนี้

3.2. 1.มีความเป็นธรรม

3.3. 2.มีความแน่นอนและชัดเจจน

3.4. 3.มีความสะดวก

3.5. 4.มีประสิทธิภาพ

3.6. 5.มีความเป็นกลางทางเศรษฐกิจ

3.7. 6.อำนวยรายได้

3.8. 7.มีความยืดหยุ่น

4. ประเภทภาษีอากร

4.1. 1.ภาษีทางตรง

4.2. 2.ภาษีทางอ้อม

5. ความหมายเกี่ยวกับภาษีอากร

5.1. 1.เงินที่รัฐบาลเก็บจากประชาชน

5.2. 2.เก็บตามอำนาจที่กฎหมายบัญญัติไว้

5.3. 3.เพื่อใช้บริหารประเทศในภาพรวม

5.4. 4.มิได้มุ่งตอบแทนผู้เสียภาษีคนใดเป็นเฉพสะะจาะจง

6. ประวัติการจัดเก็บภาษีอากร

6.1. สมัยอยุธยา

6.1.1. 1.จังกอบ

6.1.2. 2.ส่วย

6.1.3. 3.ฤชา

6.1.4. อากร

6.2. สมัยสุโขทัย

6.2.1. เรียกว่า จังกอบ

7. วัตถุประสงค์ในการจัดเก็บภาษีอากร

7.1. 1. เพื่อใช้ในการบริหารและพัฒนาประเทศ

7.2. 2.เพื่อกระจายรายได้ของประชาชน

7.3. 3.เพื่อควบคุมการบริโภคของประชาชนและรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ

8. แหล่งที่มาของรายได้รัฐบาล

8.1. ดังนี้

8.2. 1.การจัดเก็บภาษีอากร 90%

8.3. 2.การขายสินค้าและบริการ

8.4. 3.เงินกู้

8.5. 4.รายได้อื่นๆ

9. โครงสร้างของกฎหมายภาษีอากร

9.1. แบ่งเป็น 6 ประเภท ดังนี้

9.2. 1.ผู้มีหน้าที่เสียภาษีอากร

9.3. 2.ฐานภาษีอากร

9.4. 3.อัตราภาษีอากร

9.4.1. มี 3แบบ ด้วยกัน ดังนี้

9.4.2. 1.แบบคงที่

9.4.3. 2.แบบก้าวหน้า

9.4.4. 3.แบบถอยหลัง

9.5. 4.การประเมินจัดเก็บภาษีอากร

9.5.1. มี 3แบบ ดังนี้

9.5.2. 1.การประเมินตนเอง

9.5.3. 2.การประเมินโดยเจ้าพนักงาน

9.5.4. 3.การหักภาษี ณ ที่จ่ายในการจ่ายเงินได้พึงประเมิน

9.6. 5.การอุทธรณ์ภาษีอากร

9.7. 6.เบี้ยปรับ เงินเพิ่ม และโทษ