ภาวะแทรกซ้อนในระยะคลอดที่ 1 และ 2

Lancez-Vous. C'est gratuit
ou s'inscrire avec votre adresse e-mail
ภาวะแทรกซ้อนในระยะคลอดที่ 1 และ 2 par Mind Map: ภาวะแทรกซ้อนในระยะคลอดที่ 1 และ 2

1. 3.Postterm (Prolonged pregnancy)

1.1. สาเหตุ....ไม่ทราบสาเหตุที่แน่นอน

1.1.1. 1.มีประวัติตั้งครรภ์เกินกำหนด

1.1.2. 2.ทารกที่มี Anencephaly ไม่มีส่วนนำมากดตุ้นที่มดลูกส่วนล่าง/ปากมดลูก

1.1.3. 3. Macrosomia

1.1.4. 4. Placental sulfatase deficiency

1.2. ผลต่อทารก

1.2.1. Oligohydramnios

1.2.2. Meconium aspiration น้ำคร่ำปนขี้เทาเหนียวข้นมาก Thick meconium สำลักขี้เทาจนไปอุดตันที่หลอดลมส่วนปลายของปอด

1.3. ผลต่อมารดา

1.3.1. วิตกกังวล

1.3.2. การฉีกขาดของช่องทางคลอด การติดเชื้อ การตกเลือดหลังคลอด

1.4. การวินิจฉัย

1.4.1. 1.การทดสอบการตั้งครรภ์ (Pregnancy test)

1.4.2. 2. PV เพื่อประเมินขนาดของมดลูก ในระยะไตรมาสแรกของการตั้งครรภ์

1.4.3. 3. Ultrasound เพื่อประเมินอายุครรภ์

1.4.4. 4. PV พบปากมดลูกนุ่ม

2. 4. Dystocia / Dysfunction labour/ Difficult labour

2.1. การคลอดยาก

2.2. การก้าวหน้าของการคลอดล่าช้า ไม่เป็นไปตาม Friedman curve

2.3. ลักษณะของการคลอดยาก 3 ชนิด ตาม Friedman curve

2.3.1. 1. การคลอดยาวนาน ( Prolongation disorder)

2.3.1.1. ระยะปากมดลูกเปิดช้ายาวนาน : Prolongged latent phase

2.3.2. 2.การคลอดล่าช้า ( Protraction disorder )

2.3.2.1. ระยะปากมดลูกเปิดขยายล่าช้า ( Protracted active phase of dilatation

2.3.2.2. ระยะส่วนนำเคลื่อนต่ำล่าช้า (Protracted descent )

2.3.3. 3. การคลอดหยุดชะงัก ( Arrest disorder )

2.3.3.1. ระยะลดลงยาวนาน

2.3.3.2. เราอยากการเปิดขยายของปากมดลูกหยุดชะงักในระยะหลัง

2.3.3.3. ระยะการเคลื่อนต่ำของส่วนนำหยุดชะงัก

2.3.3.4. ระยะการเคลื่อนต่ำของส่วนนำล้มเหลว

2.4. ภาวะแทรกซ้อน ( ขึ้นกับระยะเวลาคลอด )

2.4.1. 1.ต่อมารดา

2.4.1.1. ติดเชื้อ

2.4.1.2. หนทางคลอดฉีกขาด

2.4.1.3. เพิ่มหัตถการในการช่วยคลอด/เพิ่มความเครียด:ความเหนื่อยล้า

2.4.1.4. ภาวะแทรกซ้อนหลังคลอด : กระบังลมหรือมดลูกยอลรูรั่วที่ช่องคลอด

2.4.2. 2.ต่อทารก

2.4.2.1. Fetal distress

2.4.2.2. Infection

2.5. การพยาบาล

2.5.1. 1.ในรายที่คลอดล่าช้าหรือหยุดชะงักให้ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกประเมินสภาพถึงกราน/ประเมินสภาพทารก

2.5.2. 2. ให้ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกและแรงเบ่ง

2.5.3. 3. ประเมินภาวะสุขภาพมีครองให้การพยาบาลเพื่อป้องกันภาวะขาดน้ำ/เลือดเป็นกรด/เยื่อหุ้มทารกติดเชื้อ

3. 5. Shoulder dystocia

3.1. สาเหตุ

3.1.1. เกิดจากอะไรกว้างเกินไปหรือกระดูกเชิงกรานมีขนาดเล็กเกินไป

3.2. ภาวะแทรกซ้อน

3.2.1. 1. ต่อทารกแรกเกิด

3.2.1.1. 1.1 ขาดออกซิเจนขณะคลอด

3.2.1.2. 1.2 บาดเจ็บขณะคลอด กระดูกต้นแขนหรือกระดูกให้ปลาร้าหักบาดเจ็บต่อเส้นประสาท Brachial plexus ทำให้เกิด Erb ‘s palsy

3.2.1.3. 1.3 มีปัญหาทำลายระบบประสาท ชัก ทำให้มีสติปัญญาบกพร่อง

3.3. การพยาบาล

3.3.1. 1. ประเมินการคลอดไหล่ยาก

3.3.2. 2. ให้การช่วยเหลือการคลอดไหล่ยาก

3.3.2.1. 2.1ตัดฝีเย็บให้กว้างพอ

3.3.2.2. 2.2 ให้ผู้ช่วยกดเหนือหัวหน่าว Suprapubic pressure ในขณะที่ผู้ทำคอดหรือศรีษะทารกลงข้างล่าง

3.3.2.3. 2.3 ใช้วิธี McRobert maneuver โดยให้ผู้คลอดใช้มือจับบริเวณใต้ข้อพับเข่าแล้วดึงเข้ามาให้ชิดหน้าท้องให้มากที่สุด พร้อมกับออกแรงเบ่งขณะที่มดลูกหดรัดตัวและผู้ทำคลอดดึงศรีษะทารกลงข้างล่างไหลน่าจะคอดออกมาเอง

3.3.3. 3. ถ้าอะไรยังไม่คลอด รายงานแพทย์และเตรียมพร้อมให้การช่วยเหลือ

3.3.4. 4.หลังคลอดประเมินสภาพร่างกายทารก

3.3.5. 5. ตรวจสอบการฉีกขาดของหนทางคลอดอ่อนและเย็บซ่อมแซมฝีเย็บ

3.3.6. 6. ดูแลด้านจิตใจ

4. 1.PROM : PREMATURE RUPTURE OF MEMBRANE

4.1. สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม

4.1.1. 1.ประวิติครรภ์ก่อนมี PROM /Preterm

4.1.2. 2.Cervical incompetence ปากมดลูกปิดไม่สนิท

4.1.3. 3. ประวัติตั้งครรภ์แฝด / ครรภ์แฝดน้ำ

4.1.4. 4. รกลอกตัวก่อนกำหนด / รกเกาะต่ำ

4.1.5. 5. สูบบุหรี่ / เศรษฐานะต่ำ ภาวะทุพโภชนาการ ผอม BMI ต่ำ

4.2. การวินิจฉัย

4.2.1. 1.ประวัติ

4.2.1.1. น้ำใสๆไหลออกทางช่องคลอด

4.2.2. 2.การตรวจทางห้องปฎิบัติการ

4.2.2.1. 2.1 Nitrazine papre test

4.2.2.2. 2.3 Fern test ได้ผลบวก พบผลึกเป็นรูปใบเฟิร์น น้ำคร่ำ มีElectrolytem โดยเฉพาะ NACL เมื่อ ทาบนSlide ทิ้งให้แห้ง ดูด้วยกล้องจุลทรรศน์

4.2.2.3. 3.3 Ultrasoud SEVERE OLIGOHYDRAMNIOS

4.3. ภาวะแทรกซ้อน

4.3.1. 1.การติดเชื้อของทารกในครรภ์

4.3.2. 2. การคลอดก่อนกำหนด

4.3.3. 3. สายสะดือโผล่

4.3.4. 4. RDS

4.3.5. 5. ทารกพิการแต่กำเนิด

4.4. การรักษา

4.4.1. 1.รับใว้ในโรงพยาบาล

4.4.2. 2. หลีกเลี่ยงการตรวจภายใน

5. 2. Preterm or Premature labour

5.1. ปัจจัยเสี่ยง

5.1.1. ภาวะทุพโภชนาการ BMI ต่ำ

5.1.2. anemia

5.2. Druge

5.2.1. 1.Tocolytic drug

5.2.2. 2. Dexamethasone / Glucocorticoid

5.2.3. 3. Antibiotic

5.3. การดูแลรักษา การเจ็บครรภ์ก่อนกำหนด

5.3.1. 1. Bed rest ในท่านอนตะแคง

5.3.2. 2.ตรวจภายในเพื่อประเมินการเปิดขยายของปากมดลูก เมื่อจำเป็น ไม่ควรกระตุ้นหรือตรวจบ่อยครั้ง

5.3.3. 3. U/S ประเมิน GA

5.3.4. 4. Amniocentesis ดู Lung mature

5.3.5. 5. CBC , BUN ,Cr , Electrolyte

5.4. การดูแลในระยะเจ็บครรภ์ และระยะคลอด

5.4.1. ข้อบ่งชี้ C/S

5.4.1.1. Fetal distress

5.4.1.2. Breech presentation GA <34 WKS

5.4.1.3. ข้อบ่งชี้อื่นๆ Placenta Previn , Prolonged labour

5.4.1.4. ทารกอยู่ใน Tranverse lie หรือ Oblique lie