บทที่ 2 กระบวนการ Process

Lancez-Vous. C'est gratuit
ou s'inscrire avec votre adresse e-mail
บทที่ 2 กระบวนการ Process par Mind Map: บทที่ 2 กระบวนการ Process

1. 3.สภาวะของโพรเซส (Process State)

2. 4.ตารางข้อมูลการประมวลผล (Process Control Block)

3. 5.การจัดตารางของโพรเซส

4. 7.การสื่อสารระหว่างโพรเซส

5. 9.เงื่อนไขข้อยกเว้น

6. ในขณะที่แต่ละโพรเซสก าลังท างานอยู่ จะมีการเปลี่ยนแปลงสถานะของโพรเซสเกิดขึ้น โดย สถานะของโพรเซส (Process state) ที่ส าคัญมี5 สถานะ คือ 1. สถานะสร้าง (New state) หมายถึง โพรเซสใหม่ก าลังถูกสร้างขึ้น 2. สถานะพร้อม (Ready state) หมายถึง สถานะที่โพรเซสพร้อมจะท างาน หากได้รับการจัดสรร ซีพียู 3. สถานะการท างาน (Running state) หมายถึง สถานะที่โพรเซสได้ครอบครองซีพียูและท าการ ประมวลผล 4. สถานะรอ (Waiting state) หมายถึง สถานะที่โพรเซสรอเหตุการณ์บางอย่าง 5. สถานะเสร็จสิ้น (Terminate state) หมายถึง สถานะที่โพรเซสเสร็จสิ้นการท างาน

7. โพรเซส เป็นการท างานของค าสั่งหรือกลุ่มค าสั่งของโปรแกรม และอาจมีการสลับการท างาน ระหว่างโพรเซสในระบบ จึงต้องมีการบันทึกรายละเอียดของโพรเซสแต่ละโพรเซส รวมถึงข้อมูลต่าง ๆ ที่ จ าเป็นต้องใช้ในการท างาน จึงใช้โครงสร้างข้อมูลพิเศษที่เรียกว่า Process Control Block (PCB) หรือ อาจเรียกว่า Task Control Block

8. โดยปกติการท างานของระบบคอมพิวเตอร์แบบโมโนโปรแกรมมิ่งจะมีเพียง 1 โพรเซสเท่านั้นที่ สามารถใช้งานซีพียูได้ในปัจจุบันการท างานของระบบคอมพิวเตอร์แบบมัลติโปรแกรมมิ่ง ที่มีหลาย ๆ โพรเซสสามารถท างานพร้อมกันได้ถ้ามีซีพียูเพียงตัวเดียว ระบบจ าเป็นต้องให้แต่ละโพรเซสสลับกันใช้ ซีพียู จุดประสงค์ของการท างานแบบนี้คือ การพยายามที่จะท าให้หน่วยประมวลผลกลางท างานอย่างมี ประสิทธิผลสูงสุด โดยจัดให้มีโพรเซสเข้าไปท างานในหน่วยประมวลผลตลอดเวลา แต่ส าหรับระบบที่มี หน่วยประมวลผลเดียว จะมีเพียงหนึ่งโพรเซสเท่านั้นที่สามารถเข้าใช้หน่วยประมวลผลกลางได้ และใน กรณีที่มีหลายโพรเซสต้องการเข้าใช้หน่วยประมวลผลกลาง งานเหล่านั้นต้องรอจนกว่าหน่วยประมวลผล กลางจะว่างลง แล้วจึงมีการจัดตารางการใช้หน่วยประมวลผลกลางใหม่อีกครั้ง

9. การจัดตารางแถวคอย (Scheduling Queue)

10. การจัดตารางการท างาน (Schedulers)

11. 1. ก าหนดการระยะยาว (Long-term Scheduler)

12. ก าหนดการระยะสั้น (Short-term Scheduler)

13. การสลับการท างานของซีพียู (Context Switch)

14. Shared-Memory Systems

15. Message-Passing Systems

16. การติดต่อทางตรง (Direct Communication)

17. การสื่อสารทางอ้อม (Indirect Communication)

18. การสิ้นสุดของโพรเซส

19. 1.แนวคิดเรื่องโพรเซส

20. 2.คุณสมบัติของโพรเซส

21. 6.การด าเนินการของโพรเซส

22. 8.การปรับอัตรา

23. ระบบคอมพิวเตอร์ในสมัยยุคแรก ๆ มีการท างานในลักษณะแบบโมโนโปรแกรมมิ่ง (Mono programming) คือ ในขณะเวลาใดเวลาหนึ่งจะมีเพียงโพรเซสเดียวเท่านั้นที่ท างานได้ข้อเสียคือ ระบบไม่ สามารถใช้ทรัพยากรได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ เนื่องจากมีบางช่วงที่ทรัพยากรของระบบว่าง แต่ไม่สามารถ ใช้ทรัพยากรเหล่านั้นได้ ต่อมามีการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ที่สามารถท าได้หลายงานพร้อมกัน และ สามารถใช้ทรัพยากรร่วมกัน โดยมีการแบ่งงานหรือโปรแกรมออกเป็นส่วนย่อย และท างานแตกต่างกัน เรียกโปรแกรมส่วนย่อยเหล่านี้ว่า กระบวนการ หรือเรียกทับศัพท์ว่า โพรเซส (Process)

24. โพรเซสแต่ละตัวจะถูกก าหนดความส าคัญขึ้น (Priority) ขณะที่โพรเซสถูกสร้างขึ้นความส าคัญ นี้อาจเปลี่ยนแปลงได้หรือไม่ได้ขึ้นอยู่กับระบบปฏิบัติการ โพรเซสที่มีความส าคัญมากระบบปฏิบัติการจะ ให้สิทธิพิเศษมากกว่าโพรเซสที่มีความส าคัญน้อย เช่น ให้เวลาในการครอบครองซีพียู ได้นานกว่าอ านาจ หน้าที่ (Authority) เป็นสิ่งที่บ่งบอกว่าโพรเซสนั้น ๆ สามารถท าอะไรได้บ้าง ใช้อุปกรณ์ชิ้นไหนได้บ้าง เป็น ต้น ตัวอย่างเช่นโพรเซส A ไม่สามารถเข้าใช้ดิสก์ใด ๆ ทั้งสิ้น แต่สามารถรับข้อมูลจากทุก ๆ โพรเซสใน ระบบได้คุณสมบัติอื่น ๆ ที่ระบบปฏิบัติการก าหนดให้ม

25. การสร้างโพรเซส (Process Creation)

26. การสิ้นสุดของโพรเซส (Process Termination)

27. การสูญหายของเมสเสจ