ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ

Lancez-Vous. C'est gratuit
ou s'inscrire avec votre adresse e-mail
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ par Mind Map: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ

1. ยุคก่อนเครื่องจักรกล (Premechanical)

1.1. แผ่นหินอ่อนซาลามิส (Salamis Tablet)

1.1.1. ชาวบาบิลอนบนเกาะซาลามิส (ประเทศกรีซปัจจุบัน) เมื่อประมาณ 300 ปีก่อนคริสตกาล

1.2. ลูกคิด (Abacus)

1.2.1. ประดิษฐ์ขึ้นโดยชาวจีน เมื่อราว 200 ปีก่อน คริสตกาล

1.3. แท่งคํานวณของเนเปียร์(Napier’s Bone)

1.3.1. จอห์น เนเปียร์(John Napier) นักคณิตศาสตร์ ชาวสก๊อต เมื่อประมาณปี ค.ศ. 1612

1.4. ไม้บรรทัดคํานวณ (Slide Rule)

1.4.1. จอห์น วิลเลียม ออดเทรด (John William Oughtred) ในปี ค.ศ. 1622 เอาหลักการของเนเปียร์มาพัฒนาต่อ

2. เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์

2.1. เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบ อัตโนมัติ ทําหน้าที่เสมือนสมองกล ใช้สําหรับแก้ปัญหาต่างๆ ทั้งที่ง่ายและซับซ้อน

3. ยุคเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic)

3.1. ENIAC (Electronics Numerical Integrator and Computer)

3.1.1. ดร. จอห์น ดับบลิว มอชลี่ (John W. Mauchly) และจอห์น เพรสเปอร์ เอ็คเคิร์ท (John Presper Eckert) ค.ศ. 1946 คํานวณวิถีกระสุนของปืนใหญ่ ใช้หลอดสุญญากาศมาก ถึง 18,000 หลอด

3.2. EDSAC (Electronics Delay Storage Automatic Calculator)

3.2.1. มัวริซ วิลค์ส (Maurice Wilkes) ค.ศ. 1949

3.2.1.1. คอมพิวเตอร์เครื่องแรกที่สามารถเก็บชุดคําสั่ง

3.3. EDVAC (Electronics Discrete Variable Automatic Computer)

3.3.1. ดร. จอห์น ฟอน นิวแมนน์ ค.ศ. 1952

3.4. UNIVAC (UNIversal Automatic Computer)

3.4.1. บริษัท Remington Rand ค.ศ. 1951

3.4.1.1. คอมพิวเตอร์เครื่องแรกที่ใช้ในเชิงธุรกิจ

4. เครื่องคอมพิวเตอร์ยุคทรานซิสเตอร์ (Transistor)

4.1. วิลเลียม ช็อคเลย์ (William Shockley), จอห์น บาร์ดีน (John Bardeen) และ วอลเตอร์ แบรทเทน (Walter Brattain)

4.1.1. ทรานซิสเตอร์ (Transistor) มีขนาดเล็ก กินไฟน้อย และมีอายุการใช้งานมาก

4.2. ประเทศไทยนำเข้า IBM 1620 ค.ศ. 1964 IBM 1401

5. เครื่องคอมพิวเตอร์ยุคแผงวงจรรวม (IC)

5.1. • ทรานซิสเตอร์นับพันตัวรวมกันไว้ในชิปไอซีตัวเดียว • ลดต้นทุนในการผลิต • มินิคอมพิวเตอร

6. ยุคเครื่องจักรกล (Mechanical)

6.1. นาฬิกาคํานวณ (Calculating Clock)

6.1.1. วิลเฮล์ม ชิคการ์ด (Wilhelm Schickard) ประเทศเยอรมันนี ได้สร้างขึ้นในปี ค.ศ. 1623 โดยใช้แนวคิดของเนเปียร

6.2. เครื่องคํานวณของปาสคาล (Pascaline Calculator)

6.2.1. แบลส ปาสคาล (Blaise Pascal) นักคณิตศาสตร์ชาว ฝรั่งเศส ปี ค.ศ. 1642 ใช้ได้ดีในการบวกลบเลข

6.3. เครื่องคํานวณของไลบ์นิซ (Leibniz Wheel)

6.3.1. กอตต์ฟรีด วิลเฮล์ม ไลบ์นิซ (Gottfried Wilhelm Leibniz) นักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมัน ค.ศ.1674 ได้ปรับปรุงเครื่องคํานวณของปาสคาลให้สามารถคูณและหารได้

6.4. เครื่องทอผ้าของแจคการ์ด (Jacquard´s loom)

6.4.1. โจเซฟ มารี แจคการ์ด (Joseph Marie Jacquard) นักประดิษฐ์ชาวฝรั่งเศส ค.ศ. 1801 ใช้บัตรเจาะรูที่เป็นแม่แบบของลวดลายนั้นๆ

6.5. Difference Engine

6.5.1. ชาร์ลส แบบเบจ (Charles Babbage) นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ ค.ศ. 1822สามารถคํานวณ งานที่ซับซ้อนมากๆได

6.5.1.1. บิดาแห่งคอมพิวเตอร์

6.5.2. Analytical Engine

6.5.2.1. ค.ศ. 1834 • Input Device ใช้บัตรเจาะรูนําข้อมูลเข้าสู่เครื่อง • Arithmetic Processor คํานวณหาผลลัพธ์ • Control Unit ควบคุมและตรวจสอบงานที่จะนําออก ว่าได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องหรือไม่ • Memory เป็นส่วนสําหรับเก็บตัวเลขเพื่อรอการประมวลผล

6.5.2.2. ค.ศ. 19101834 ถูกสร้างสําเร็จโดย เฮนรี่ ลูกชายของ แบบเบจ

6.5.2.3. ค.ศ. 1842 เลดี้ ออกุสตา เอด้า ไบรอน

6.5.2.3.1. โปรแกรมเมอร์คนแรกของโลก

7. ยุคเครื่องจักรกลระบบอิเล็กทรอนิกส์ (Electromechanical)

7.1. Tabulating Machine

7.1.1. ดร.เฮอร์แมน ฮอลเลอริธ (Herman Hollerith) ค.ศ. 1890

7.2. ABC (Atanasoff Berry Computer)

7.2.1. ดร.จอห์น วี อตานาซอฟฟ์ (John V. Atanasoff) และคลิฟฟอร์ด เบอร์รี่ (Clifford Berry) ค.ศ. 1942

7.2.1.1. หลอดสุญญากาศ มีอายุการใช้งานสั้น ความร้อนสูง

7.3. Colossus

7.3.1. สงครามโลกครั้งที่สอง อลัน ทัวริ่ง (Alan Turing) ได้ร่วมกับ ทอมมี่ ฟลาวเวอร์ (Tommy Flowers) และ เอ็ม เอช เอ นิวแมน (M.H.A. Newman) ถอดรหัสลับที่ฝ่ายทหารเยอรมันที่ใช้ติดต่อสื่อสารกัน ค.ศ. 1943

7.3.1.1. ทัวริ่ง ได้รับการยกย่องว่าเป็น “บิดาแห่งวิทยาการคอมพิวเตอร์”

7.4. Mark I หรือ IBM Automatic Sequence Controlled Calculator

7.4.1. ศาสตราจารย์ โฮวาร์ด ไอเคน (Howard Aiken) ค.ศ. 1944