การจัดการเรียนรู้แบบเรียนรวม

Lancez-Vous. C'est gratuit
ou s'inscrire avec votre adresse e-mail
การจัดการเรียนรู้แบบเรียนรวม par Mind Map: การจัดการเรียนรู้แบบเรียนรวม

1. ความหมาย

1.1. การรับเด็กเข้ารับการศึกษา

1.2. ไม่เเบ่งเเยกความบกพร่องของเด็ก

1.3. ไม่คัดแยกเด็กด้อยออกจากชั้นเรียน

1.4. ใช้การบริหารจัดการ วิธีการ

1.4.1. เด็กเกิดการเรียนรู้

1.4.2. พัฒนาการตามความต้องการจำเป็นอย่างเหมาะสม

2. หลักการการจัดการเรียนรู้แบบเรียนรวม

2.1. องค์ประกอบด้านสรีรวิทยา

2.1.1. การทำงานผิดปกติของระบบการทำงานของร่างกาย

2.1.2. เกี่ยวข้องกับปัญหาทางร่างกายของเด็ก

2.2. องค์ประกอบด้านจิตวิทยา

2.2.1. สติปัญญา

2.2.2. อัตราเร็วของการเรียนรู้

2.2.3. ความรู้สึกนึกคิดเกี่ยวกับตนเอง

2.2.4. การปรับตัวทางอารมณ์เเละสังคม

2.2.5. ความสัมพันธ์ระหว่างครอบครัวและเพื่อน

2.3. องค์ประกอบด้านสภาพเเวดล้อม

2.3.1. ส่งผลต่อการเรียนรู้ของเด็ก

3. รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบเรียนรวม

3.1. รูปแบบครูที่ปรึกษา (Consultant Model)

3.1.1. ครูการศึกษาพิเศษรับมอบหมายให้สอนทักษะแก่เด็กที่มีความต้องการพิเศษ

3.1.2. ครูปกติและครูการศึกษาพิเศษต้องประชุมปรึกษาหารือกัน

3.2. รูปแบบการร่วมทีม (Teaming Model)

3.2.1. ครูการศึกษาพิเศษร่วมทีมกับครูที่สอนชั้นปกติ

3.2.2. ครูที่เกี่ยวข้องต้องวางแผนการทำงานร่วมกัน

3.3. รูปแบบการร่วมมือ หรือ การร่วมสอน (Collaborative/Co Teaching Model)

3.3.1. คนหนึ่งสอนคนหนึ่งช่วย (One Teacher - One Supporter)

3.3.1.1. ร่วมกันสอน

3.3.1.2. ในเวลาเดียวกัน

3.3.1.3. เนื้อหาดียวกัน

3.3.2. การสอนพร้อม ๆ กัน (Parallel Teaching)

3.3.2.1. แบ่งเด็กในห้องเรียนเป็นกลุ่ม

3.3.2.2. สำหรับนักเรียนมีจำนวนไม่มากนัก

3.3.2.3. ครูดูเเลเด็กอย่างทั่วถึง

3.3.3. ศูนย์การสอน (Station Teaching) หรือ ศูนย์การเรียน (Learning Centers)

3.3.3.1. ครูจะเเบ่งเนื้อหาออกเป็นตอน ๆ

3.3.3.2. เเต่ละตอนจัดวางเนื้อหาตามแหล่งต่าง ๆ

3.3.3.3. หมุนเวียนกันครบเนื้อหาจึงครบตามครูกำหนด

3.3.4. การสอนทางเลือก (Alternative Teaching Design)

3.3.4.1. ต้องมีครูอย่างน้อย 2 คน ใน 1 ห้องเรียน

3.3.4.2. ครูคนเเรกสอนเนื้อหา และเเบ่งกลุ่มทำกิจกรรม

3.3.4.3. ครูคนหนึ่งสอนกลุ่มเด็กที่เก่งกว่า

3.3.4.4. อีกคนสอนกลุ่มเด็กที่อ่อนกว่า

3.3.5. การสอนเป็นทีม (Team Teaching)

3.3.5.1. ครูมากกว่า 1 คน

3.3.5.2. รวมกันสอนห้องเดียวกัน เนื้อหาเดียวกัน

3.3.5.3. ไม่จำเป็นสอนเวลาเดียวกัน

4. ประเภทของความบกพร่องต่อการเรียนรู้ของเด็ก

4.1. เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา

4.1.1. สติปัญญาเป็นองค์ประกอบที่สำคัญต่อการเรียนรู้

4.1.2. ถ้ามีความบกพร่องพัฒนาการจะล่าช้าหรือไม่เป็นไปตามวัยที่ควรจะเป็น

4.2. เด็กที่มีความบกพร่องทางด้านการได้ยิน

4.2.1. ความสามารถในการเรียนรู้ลดลง

4.2.2. ไม่มีการพูดสื่อสารกับผู้อื่นเพื่อการเรียนรู้

4.2.3. การพัฒนาตนเองทางด้านสังคมก็จะบกพร่องไปด้วย

4.3. เด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็น

4.3.1. มองเห็นวัตถุกลมเป็นรูปเบี้ยวและพร่า

4.3.2. เห็นเส้นเเนวตั้งเเนวขวางได้ชัดเจนไม่เท่ากัน

4.3.3. เด็กต้องปรับตัว จึงขาดโอกาสในการเรียนรู้

4.4. เด็กที่มีความบกพร่องทางร่างกายเเละสุขภาพ

4.4.1. เคลื่อนไหวไม่เต็มที่

4.4.2. ขาดโอกาสต่อการเรียนรู้และพัฒนาตนเอง

4.5. เด็กที่มีความบกพร่องทางการพูดและภาษา

4.5.1. สภาพเเวดล้อมมีผลต่อการเรียนรู้ของเด็ก

4.5.2. มีความล่าช้าด้านพัฒนาการทางภาษา

4.6. เด็กที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์

4.6.1. เกี่ยวกับการปรับตัวทางอารมณ์และสังคม

4.6.2. เกิดความตรึงเครียดของประสาท

4.6.3. เกิดความกังวลต่อการเรียนรู้

4.6.4. ไม่มีความรับผิดชอบ

4.6.5. มีพฤติกรรมต่อต้านทางสังคม

4.7. เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้

4.7.1. เกิดจากกระบวนการรับรู้ / แยกแยะสิ่งต่าง ๆ

4.7.2. ปัญหาด้านการจำ ฝึกฝนเกี่ยวกับรูปร่าง

4.8. เด็กออทิสติก

4.8.1. เด็กที่มีอาการผิดปกติของสมอง

4.8.2. เเสดงอาการผิดปกติทางสังคมและการมีปฏิสัมพันธ์

4.8.3. ผิดปกติทางด้านอารมณ์เเละพฤติกรรม

4.8.4. ผิดปกติทางภาษาและการสื่อสาร

4.9. เด็กที่มีความพิการซ้ำซ้อน

4.9.1. บุคคลที่บกพร่องหรือพิการมากกว่าหนึ่งระเภท

4.9.2. มีปัญหาในการช่วยเหลือตัวเองในชีวิตประจำวัน

4.9.2.1. การเเต่งตัว

4.9.2.2. การรับประทานอาหาร

4.9.2.3. การขับถ่าย

4.9.2.4. การควบคุมปัสสาวะ

4.9.3. มีปัญหาในการสื่อสาร

4.9.3.1. ไม่สามารถสื่อสารกับผู้อื่นได้

4.9.3.2. ไม่สามารถใช้ท่าทางประกอบในการสื่อสารได้

4.10. เด็กที่มีปัญญาเลิศ

4.10.1. มีความสามารถทางปัญญาสูงกว่าเด็กทั่วไป

4.10.2. ช่างสังเกต ตื่นตัวอยู่เสมอ

4.10.3. เเสดงความสามารถในการใช้ศัพท์สูงกว่าวัย

5. ความสำคัญการจัดการเรียนรู้แบบเรียนรวม

5.1. จัดให้เด็กที่มีความต้องการพิเศษเรียนรวมกับเด็กทั่วไป

5.2. ให้คำนึงถึงคุณค่าการพัฒนาชีวิตคน

5.3. เพิ่มโอกาสทางการศึกษาให้เด็กที่มีความต้องการพิเศษ

5.4. มีทักษะการดำรงชีวิตในครอบครัวเเละสังคม

5.5. มีความรู้ ความสามารถ

6. หลักการจัดการเรียนการสอน

6.1. จัดกลุ่มหลากหลาย (Heterogeneous Group)

6.2. จัดแบบการร่วมเรียนรู้ (Coqseotive Learning)

6.3. จัดทำหลักสูตรเฉพาะบุคคล IEP

6.3.1. แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (Individualized Education Program : IEP)

6.3.2. เป็นแผนการศึกษาสำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษเป็นรายบุคคล

6.4. การวัดผล ประเมินผล เฉพาะบุคคล

6.5. ใช้การประเมินหลากหลาย

6.6. จัดหาบุคลากร