การเลี้ยงสุนัข

Lancez-Vous. C'est gratuit
ou s'inscrire avec votre adresse e-mail
การเลี้ยงสุนัข par Mind Map: การเลี้ยงสุนัข

1. ข้อมูล

1.1. ค่าปกติทางชีววิทยาทั่วไป

1.1.1. ตั้งท้อง 2 เดือน, หย่านม 35-49 วัน, อายุเมื่อเริ่มผสมพันธุ์ เพศผู้ 350 วัน เพศเมีย 500 วัน, วงรอบการเป็นสัด 3 ครั้ง/2ปี, ระยะสัด 3 สัปดาห์

1.2. ข้อมูลทางพันธุกรรม

1.2.1. 2n=78, Hip dysplasia ในสุนัขพันธุ์ German Shepherd, Golden Retreiver, โรคตา (Pekingese), โรคหูหนวกในตัวผู้ (Dalmatian), Melanoma (สุนัขพันธุ์ Doberman สีเผือก)

2. การดูแลสุนัข

2.1. ลูกสุนัข

2.1.1. 3 วันแรกก่อนคลอดควรได้กินนม colostrum จากแม่ ควรอยู่ในที่สงบ ไม่สว่างมาก มีความอบอุ่นเพียงพอ ควรดูแลและหมั่นเปลี่ยนผ้าปูนอนเสมอ แม่อาจสำรอกอาหารให้ลูกกิน ไม่อันตราย การทิ้งให้อยู่ด้วยกันนานกว่า 14 สัปดาห์ อาจทำให้เข้ากับมนุษย์ได้ยาก

2.1.2. การปฏิบัติทั่ว ๆ ไป

2.1.2.1. ตัดหางและนิ้วติ่งเมื่ออายุ 3-4 วัน ขนาดของความยาวของหางที่ตัดจะขึ้นกับพันธุ์, นิ้วติ่งขาหลังต้องตัดให้หมด เพราะมักสะดุด เกิดแผล การใช้กรรไกรตัดจงอยเล็บ ควรระวังไม่ให้ลึกเกิน

2.2. การดูแลสุนัขหลังอย่านมและสุนัขโต

2.2.1. 👌 หย่านมประมาณ 2 เดือน การเปลี่ยนที่อยู่อาจทำให้สุนัขเกิดความเครียด เนื่องจากปัจจัยที่เปลี่ยนคือ กลิ่น ภาพที่เห็น และเสียง

2.2.2. สุนัขที่มีอายุมากกว่า 10 ปี ควรได้รับการเอาใจใส่เรื่องอาหารเป็นพิเศษเพราะฟันอาจคอลนและไม่สามารถกินอาหารแข็งได้สะดวก และควรทำการตรวจสุขภาพทั่วไปและตา หู ฟัน เป็นประจำอย่างน้อยปีละครั้ง

2.3. การดูแลสุนัขตั้งท้อง

2.3.1. ตัวเมียเป็นสัดครั้งแรก 8-10 เดือน ควรผสมเมื่อเป็นสัดครั้งที่ 2 แม่ควรผ่านวัคซีน ถ่ายพยาธิ กำจัดเห็ดหมัด

2.3.2. การผสม ก่อนผสมควรให้สัตวแพทย์ตรวจความพร้อมก่อน แม่สุนัขควรผ่านการฉีดวัคซีนต่างๆ มาครบแล้ว ควรพาตัวผู้และตัวเมียมาเจอกันและอยู่ด้วยกันประมาณ 2 วัน เพื่อให้โอกาสติดมากขึ้น

2.3.3. อาหาร หลังผสมแล้ว 1 เดือนควรให้อาหารโปรตีนสูงขึ้น, เสริมแคลเซียม วิตามิน, ควรเพิ่มปริมาณอาหารประมาณ 20 % ของที่เคยให้ในระยะท้ายของการตั้งท้อง

2.4. การดูแลสุนัขขณะคลอด

2.4.1. แม่สุนัขจะเลียนัวลูกจนแห้วและกัดสายสะดือของลูก

2.4.2. ใช้ทิงเจอร์แต้มปลายสะดือที่ถูกตัด ห่างผนังท้อง 2 นิ้ว

2.4.3. เช็ดตัวให้แห้ง ส่งให้แม่เลีย

2.4.4. ควรนับรกให้เท่ากับจำนวนลูก เพื่อตรวจสอบว่ารกจะไม่ค้างในท้องแม่

3. การให้อาหารและน้ำ

3.1. วิธีให้

3.1.1. สามารถให้วันละ 1 ครั้ง หรือแบ่งครึ่งเช้าเย็นก็ได้

3.1.2. ขนาดตัว อายุ มีความสัมพันธุ์ต่อปริมาณและความถี่ในการให้อาหาร

3.1.3. นำชามอาหารไปล้างด้วยสบู่ให้สะอาด ผึ่งให้แห้งทุกมื้ออาหาร

3.1.4. สุนัขชอบกินตรงเวลา ควรกำหนดเวลาให้แน่นอน

3.2. ชนิด

3.2.1. อาหารกระป๋อง : มีนำ้เป็น อปก. 75%

3.2.2. อาหารกึ่งแห้ง : มีนำ้เป็น อปก. 25%

3.2.3. อาหารแห้ง : มีนำ้อยู่ประมาณ 10%

3.2.4. อาหารสด : มีความแปรปรวนมากในเรื่องสารอาหาร

3.3. ข้อควรระวัง

3.3.1. ช่วงที่มีการลดจำนวนมื้อของอาหารลง ให้ค่อยๆลดโดยใช่เวลาในการลด 7-15 วัน

3.3.2. ไม่ควรโอ๋สุนัขเกินไปจะทำให้สุนัขเสียนิสัย

3.3.3. ควรจำกัดเวลาให้อาหาร 1 มื้อต่อ 15 นาที ถ้าไม่กินก็ยกออกเก็บไว้ก่อน

3.4. น้ำดื่ม

3.4.1. ควรมีนำ้สะอาดวางให้สุนัขดื่มได้เองตลอดเวลา

3.4.2. ปริมาณนำ้ที่สุนัขต้องการมีส่วนสัมพันธุ์กับชนิดของอาหาร

3.4.3. การดื่มนำ้ที่ไม่สะอาดจะส่งผลให้เสี่ยงต่อการติดโรค

3.5. พี่พักอาศัย

4. การดูเลสุนัขที่ควรทำเป็นประจำ

4.1. ตัดแต่งขน อาบนำ้ ทำความสะอาดหู ทําความสะอาดตา ทาความสะอาดช่องปาก ฟัน ทาความสะอาดข้างกัน

5. การจำแนกสายพันธุ์สุนัขตามหลัก AKC : 8 กลุ่ม

5.1. Sporting

5.1.1. กระตือรือร้น ตื่นตัวตลอด สัญชาตญาณดี เพื่อล่าสัตว์ นำทาง ต้องออกกำลังสม่ำเสมอ

5.1.2. Pointers, Retrievers, Setters, Spaniels

5.2. Hound

5.2.1. เสียงหอนเป็นเอกลักษณ์ ใช้ล่าสัตว์ แข่งลู่วิ่ง อาจนำมาใช้ในการแข่งกีฬา

5.2.2. Basset hound, Bloodhound, Greyhound, Irish wolfhound, Basenji, Beagle, Saluki, Whippet, Dashund

5.3. Working

5.3.1. เรียนรู้เร็ว ฉลาด เพื่อใช้งาน : guard dog นำทาง ช่วยชีวิต ตัวใหญ่ไม่เหมาะกับบริเวณจำกัด

5.3.2. Alaskan, Bullmastiff, Doberman pinscher, Boxer, Rottweiler, St. Bernard, Siberian, Standard shnauzer.

5.4. Terrier

5.4.1. อุปนิสัยมีความหลากหลาย บางพันธุ์อารมณ์เสียง่าย ขนาดต่างกันตั้งแต่ 1-3 ฟุต จับหนู ล่าสัตว์ขนาดเล็ก ส่วนใหญ่ขนยาวลอน

5.4.2. Australian, Bull, Cairn, Dandie Dinmont, Smooth fox, Wired fox, Jack Russel, Miniature schnauzer, Scottish, West highland white

5.5. Toy

5.5.1. สุนัขที่มีขนาดเล็ก มีนำ้หนักประมาณ 200 กรัม - 7 กิโลกรัม

5.5.2. Affenpinscher, Cavalier king charles spaniel, Yorkshire, Italian greyhound, Miniatur pinscher, Pug

5.6. Non-sporting

5.6.1. ไม่มีกลุ่ม

5.6.2. Bichon frise, Bulldog, Dalmatian, Standard poodle, Chowchow, Boston terrier, Lhasa apso, Shar-pei

5.7. Herding

5.7.1. ความสามารถในการควบคุมการเคลื่อนไหวของฝูงสัตว์อื่นได้ดี หรือสามารถคุมฝูงสัตว์ ฉลาด เป็นมิตรกับเด็ก

5.7.2. Bearded collie, Corgi, Australian cattle dog, German Shepherd, Old english sheepdog.

5.8. Miscellaneous

5.8.1. ไม่จดทะเบียนอยู่ในกลุ่มของสมาคม AKC

5.8.2. Polish lowland sheepdog, Plott Hound, German pinscher, Toy Fox terrier.

6. Dog’s structure

6.1. Skull of the dog

6.1.1. Dolichocephalic : กะโหลกแคบ ปากเรียวยาว

6.1.2. Mesocephalic : กะโหลกขนาดกลาง ฐานกล้อง ปากมีความยาวปานกลาง

6.1.3. Brachycephalic : กะโหลกกว้างแบน เป็นสี่เหลี่ยม ปากมีขนาดสั้น

6.2. Sight

6.2.1. สามารถมองเห็นได้ดีในที่มืด พบ Third eyelid (หนังตามี่สาม) และพบ Rod (ไวแสง) มากกว่า cone (แยกสี)

6.2.2. Tapetum lucidly (หลัง retina) : สะท้อนแสงกลับไป, retina ทำให้เราเห็นตาสุนัขเป็นสีแดงเมื่อสะท้อนไฟ

6.2.3. องศาการมอง : Dolichocephalic 270, Brachycephalic 200

6.3. Scent

6.3.1. เซลล์ที่ช่วยในการรับกลิ่น : 220 ล้านเซลล์ มนุษย์ 5 ล้านเซลล์

6.4. Hearing

6.4.1. ความถี่ 20-40,000 Hz มนุษย์ 20-20,000 Hz

6.5. Touch

6.5.1. ประสาทสัมผัสเป็นระบบที่มีการพัฒนาตั้งแต่ยังเป็นลูกสุนัข, ตอบสนองตามการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ และเป็นเครื่องทือติดต่อสื่อสารกับคน/สุนัขด้วยกัน

6.6. Taste

6.6.1. Taste bud น้อยกว่ามนุษย์ ชนิดที่มีมากที่สุดคือ รสหวาน

6.7. Teeth

6.7.1. ฟันนำ้นม 28 ซี่ หลุดเมื่ออายุครบ 5 เดือน

6.7.2. ฟันแท้ 42 ซี่ : Incisors 2-5 เดือน Canines 5-6 เดือน Premolars 4-6 เดือน Molar 5-7 เดือน

6.7.3. Incisor ฟันตัดขนาดเล็ก

6.7.4. Canine ฟันเคี้ยว มีขนาดใหญ่และคม

6.7.5. ฟันกรามคู่แรก (1st molar) ของขากรรไกรล่างและฟันก่อนฟันกรามคู่ที่สี่ (4th premolar) ของขากรรไกรบน เป็นฟันที่ใช้ในการกัดหรือแทะ

6.7.6. การสบกันของฟัน

6.7.6.1. มีความหลากหลายตามพันธุ์ บางพันธุ์ก็มีลักษณะเฉพาะ

6.7.6.2. Level (สบกันพอดี), Undershort (ขากรรไกรบนสั้นกว่า ฟันบนสั้นกว่าฟันล่าง), Overshort (ขากรรไกรล่างสั้นกว่า ฟันบนยื่นเลยฟันล่าง)

6.7.7. การควบคุมอุณหภูมิ

6.7.7.1. มีต่อมเหงื่อที่อุ้งเท้าช่วยในการระบายความร้อน และหอบหายใจระบายความร้อนทางปาก

6.7.8. การติดต่อสื่อสาร

6.7.8.1. ใช้ท่าทางและเสียงแสดงความรู้สึก