แนวคิดด้านโภชนาการและการประเมินภาวะโภชนาการ

Lancez-Vous. C'est gratuit
ou s'inscrire avec votre adresse e-mail
แนวคิดด้านโภชนาการและการประเมินภาวะโภชนาการ par Mind Map: แนวคิดด้านโภชนาการและการประเมินภาวะโภชนาการ

1. โภชนาการ

1.1. อาหารหลัก 5 หมู่

1.1.1. 1.เนื้อสัตว์,นม,ไข่,ถั่วเมล็ด

1.1.2. 2.ข้าว,แป้ง,น้ำตาล,เผือก,มัน

1.1.3. 3.ผัก

1.1.4. 4.ผลไม้

1.1.5. 5.ไขมันและน้ำมัน

1.2. สารอาหาร 6 ชนิด

1.2.1. 1.คาร์โบไฮเดรต

1.2.2. 2.โปรตีน

1.2.3. 3.ไขมัน

1.2.4. 4.วิตามิน

1.2.5. 5.เกลือแร่

1.2.6. 6.น้ำ

1.3. อาหารครบมาตรฐานสำหรับคนไทย

1.3.1. 1.อาหารหลัก ได้แก่ ข้าว แป้ง และน้ำตาล

1.3.2. 2.อาหารพวกเนื้อสัตว์ ได้แก่ สัตว์ทุกประเภทรวมทั้งไข่

1.3.3. 3.พวกถั่ว

1.3.4. 4.พวกผักต่างๆ

1.3.5. 5.ผลไม้ต่างๆ

1.3.6. 6.ไขมันและน้ำมัน

2. การประเมินภาวะโภชนาการ

2.1. ความหมาย

2.1.1. คือ สภาพหรือสภาวะของร่างกายที่เกิดจากการบริโภคอาหารของแต่ละบุคคล

2.2. ความสำคัญ

2.2.1. ทราบข้อมูลต่างๆเกี่ยวกับชนิด ปริมาณ และคุณภาพของอาหารที่บริโภค

2.2.2. ทราบนิสัยการบริโภคอาหาร

2.2.3. ทราบการระบาดของโรคขาดสารอาหาร

2.2.4. ทราบแนวทางเพื่อใช้ในการให้โภชนศึกษาแก่บุคคลและชุมชน

2.3. ระดับภาวะโภชนาการ

2.3.1. ภาวะโภชนาการปกติ

2.3.2. ภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์

2.3.3. ภาวะโภชนาการสูงกว่าเกณฑ์

2.4. วิธีการประเมินภาวะโภชนาการ

2.4.1. 1.การตรวจอาการทางคลินิก

2.4.1.1. ตรวจร่างกายเพื่อดูความผิดปกติหรือดูการเปลี่ยนแปลงของเนื้อเยื่อต่าง

2.4.2. 2.การตรวจสารทางชีวเคมีในร่างกาย

2.4.2.1. ตรวจวิเคราะห์ปริมาณหรือทดสอบหน้าที่ทางชีวภาพของสารอาหารในเลือด ปัสสาวะหรืออุจจาระ แล้วนำไปเปรียบเทียบกับค่าปกติ

2.4.3. 3.การสำรวจอาหารที่รับประทาน

2.4.3.1. ซักถามเกี่ยวกับอาหาร

2.4.3.2. บันทึกรายการอาหาร

2.4.3.3. ซักประวัติอาหาร

2.4.3.4. ชั่งน้ำหนักของอาหาร

2.4.3.5. ความถี่ของการรับประทานอาหาร

2.4.4. 4.การวัดสัดส่วนต่างๆของร่างกาย

2.4.4.1. การวัดส่วนสูง

2.4.4.2. การชั่งน้ำหนัก

2.4.4.3. การวัดเส้นรอบวงอวัยวะต่างๆ

3. สถานการณ์ด้านอาหารและโภชนาการ

3.1. ปัญหาภาวะโภชนาการเกิน

3.1.1. เกิดการบริโภคพลังงาน ไขมัน โซเดียม น้ำตาลมากเกินไป และบริโภคผักผลไม้ไม่เพียงพอเป็นปัจจัยเสี่ยงสำคัญของโรคอ้วนและโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

3.1.2. ปัจจัยที่ทำให้เกิดภาวะโภชนาการเกิน

3.1.2.1. ทานอาหารนอกบ้านและเลือกซื้ออาหารสำเร็จรูป

3.1.2.2. อาหารส่วนมากจำหน่ายอาหารที่มีพลังงาน ไขมัน น้ำตาลและโซเดียมสูง

3.1.2.3. ค่านิยมของสังคมในการทานอาหารฟ้าสต์ฟู้ด

3.1.2.4. การตลาดที่กระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมการซื้ออาหารในปริมาณมากในแต่ละครั้งเพื่อให้สามารถซื้ออาหารในราคาที่ถูกลง

3.2. สารเคมีที่ปนเปื้อนในอาหาร

3.2.1. สารบอแรกซ์ในอาหารเพื่อความกรอบและเหนียว

3.2.2. สารกันราในพวกอาหารดองต่างๆ

3.2.3. สารกันบูดในอาหารป้องกันไม่ให้อาหารเสีย

3.2.4. สารฟอกขาวในอาหารทะเล

3.2.5. สารฟอร์มาลินใช้แช่ผัก เนื้อสัตว์ อาหารทะเลสด

3.2.6. ยาฆ่าแมลงอาจตกค้างหรือโดนผลผลิตที่เราทาน

3.2.7. สารเร่งเนื้อแดงในเนื้อสัตว์ เนื้อหมู

3.3. อันตรายจากสารพิษปนเปื้อนในอาหาร

3.3.1. สารกันหืน-เป็นสารก่อมะเร็ง

3.3.2. สารหนู-ทำลายระบบประสาท ระบบเลือด

3.3.3. ยาฆ่าแมลง-ทำลายเซลล์ประสาท ระบบทางเดินอาหาร มะเร็ง

3.3.4. สารฟอกขาว-อักเสบในระบบอาหาร อาเจียร หายใจไม่สะดวก

3.3.5. อะฟลาทอกซิน(กลุ่มเชื้อรา)-ทำลายเซลล์ตับ

3.3.6. สารปรอท-ทำลายระบบประสาทและกล้ามเนื้อ

4. อาหารเพื่อสุขภาพ

4.1. อาหารฟังก์ชัน หรือ Functional Foods

4.1.1. 1.ใยอาหาร

4.1.2. 2.น้ำตาลโอลิโกแซคคาร์ไรด์

4.1.3. 3.ไดเปปไทด์

4.1.4. 4.กรดไขมันไม่อิ่มตัวในกลุ่มโอเมก้า3(Omega 3 - Polyunsaturated fatty acid )

4.1.5. 5.สารพฤกษเคมี

4.1.6. 6.เกลือแร่และวิตามินต่างๆ

4.1.7. 7.โพรไบโอติกส์

4.1.8. 8.พรีไบโอติก

4.2. Macrobiotics การรับประทานอาหารอย่างมีสมดุล ได้แก่ รายสัปดาห์หรือตามโอกาส และ รายเดือน

4.2.1. รายสัปดาห์หรือตามโอกาส

4.2.1.1. 1.ผลไม้ที่ปลูกในท้องถิ่นตามฤดูกาล

4.2.1.2. 2.ปลาเนื้อขาวและอาหารทะเล

4.2.1.3. 3.เมล็ดพืชและถั่วเปลือกแข็ง

4.2.1.4. 4.ขนมหวานที่ทำจากธัญพืชหรือผลไม้

4.2.2. รายเดือน รับประทานน้อยครั้ง

4.2.2.1. 1.นมและผลิตภัณฑ์จากนม

4.2.2.2. 2.ไข่ไก่และสัตว์เนื้อแดง

4.3. อาหารคลีน

4.3.1. คือ อาหารที่ผ่านการปรุงแต่งน้อยที่สุด เน้นความเป็นธรรมชาติ และได้รับสารอาหารอย่างครบถ้วน

4.3.2. อาหารคลีน ได้แก่ ผัก ผลไม้สดๆ ธัญพืช อาหารที่ไม่ผ่านการขัดสี อาหารที่ไม่ปรุงรสจัด

4.4. ชีวจิต

4.4.1. ร่างกายจิตใจเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน

4.4.2. เป็นการเลือกอาหารที่ให้คุณค่าแก่ร่างกายและจิตใจมากที่สุด

4.4.3. เป็นอาหารที่ก่อให้เกิดสารพิษตกค้างในร่างกายน้อยที่สุด

4.4.4. กินตามสูตรสุขภาพ...แบบชีวจิต

4.4.4.1. 1.อาหารประเภทแป้งไม่ขัดขาว

4.4.4.2. 2.ผัก

4.4.4.3. 3.โปรตีน

4.4.4.4. 4.เบ็ดเตล็ด

4.5. อาหารมังสวิรัติ

4.5.1. อาหารที่ไม่มีเนื้อสัตว์

4.5.2. แบ่งได้ 3 ประเภท

4.5.2.1. 1.กึ่งมังสวิรัติ ทานผักมากกว่าเนื้อ

4.5.2.2. 2.มังสวิรัติที่รับประทานนมและไข่ ทานผักเป็นหลัก แต่ยังทานนมและไข่

4.5.2.3. 3.มังสวิรัติแท้ ทานแต่ผักและผลไม้เท่านั้น

4.6. อาหารคีโต

4.6.1. การเลี่ยงแป้งและน้ำตาลอย่างเด็ดขาด

4.6.2. ประเภทของการกินคีโต

4.6.2.1. 1.Standard ketogenic diet : เน้นไขมัน75% โปรตีน20% คาร์โบไฮเดรต5%

4.6.2.2. 2.Cyclical ketogenic diet : กินคีโตแบบ 5 วันกินอาหารคีโตอีก 2 วันกินอาหารคาร์โบไฮเดรตสูง

4.6.2.3. 3.Targeted ketogenic diet : กินอาหารคีโตที่สามารถเพิ่มคาร์โบไฮเดรตในช่วงออกกำลังกาย

4.6.2.4. 4.High-protein ketogenic diet : มีการเพิ่มปริมาณโปรตีนเข้าไปเป็นไขมัน 60% โปรตีน35% คาร์โบไฮเดรต5%

4.6.3. กินอะไรได้บ้าง

4.6.3.1. เนื้อ ผัก ไขมัน ถั่วเมล็ดเดี่ยว ผลไม้ เครื่องดื่ม ผลิตภัณฑ์จากนม

4.6.4. ห้ามกินอะไร

4.6.4.1. อาหารที่มีน้ำตาลเป็นส่วนประกอบ

4.6.4.2. อาหารที่มีแป้ง

4.6.4.3. ผลไม้แทบทุกชนิด

4.6.4.4. พืชหัว

4.6.4.5. ถั่วที่เป็นฝัก

4.6.4.6. ซอสและน้ำจิ้ม

4.6.4.7. เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์

4.7. คิดจะคีโตเจนิคไดเอท ต้องระวัง เช่น

4.7.1. เสี่ยงการเกิดนิ่วที่ไต

4.7.2. อาจทำให้ขาดสารอาหารบางชนิด

5. ฉลากโภชนาการ

5.1. ข้อมูลบนฉลาก

5.1.1. คือ ได้รับอนุญาตหรือผ่านการตรวจสอบจากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

5.1.2. ทำให้ทราบรายละเอียดเกี่ยวกับตัวสินค้านั้นๆ

5.2. ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ อย. กำกับดูแลได้อย่างปลอดภัย ได้แก่

5.2.1. 1.ผลิตภัณฑ์อาหาร

5.2.2. 2.ผลิตภัณฑ์ยา

5.2.3. 3.ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง

5.2.4. 4.ผลิตภัณฑ์เครื่องมือแพทย์

5.2.5. 5.ผลิตภัณฑ์วัตถุอันตรายที่ใช้ในบ้านเรือน

5.2.6. 6.ผลิตภัณฑ์วัตถุเสพติด

5.3. สินค้าที่ไม่ต้องติดฉลาก

5.3.1. 1.อาหารที่ผู้ผลิตสามารถให้ข้อมูลเกี่ยวกับอาหารที่ผลิตแก่ผู้บริโภคได้ในขณะนั้น

5.3.2. 2.อาหารสดที่ไม่ผ่านกรรมวิธีใดๆหรืออาหารสดที่ผ่านกรรมวิธีการแกะชำแหละ

5.3.3. 3.อาหารในภาชนะบรรจุที่ผลิตและจำหน่ายเพื่อบริการภายในร้านอาหาร

5.4. ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีเครื่องหมาย อย.

5.4.1. 1.ผลิตภัณฑ์อาหาร - มีตัวเลข 13 หลัก

5.4.2. 2.ผลิตภัณฑ์เครื่องมือแพทย์ที่ต้องมีใบอนุญาต - มี ผ.หมายเลขผลิต ปี พ.ศ. น.หมายเลขนำเข้า ตามเลขปี พ.ศ.

5.4.3. 3.ผลิตภัณฑ์วัตถุอันตรายทางสาธารณสุข - วอส. ตามด้วยเลข ปีพ.ศ.

5.5. ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่มีเครื่องหมาย อย.

5.5.1. 1.ผลิตภัณฑ์ยา แต่การแสดงเลขทะเบียนตำรับยาไม่ต้องแสดงในเครื่องหมาย อย.

5.5.2. 2.ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง จดแจ้งเครื่องสำอางก่อน จะได้เลขที่ใบรับแจ้ง 10 หลักบนฉลาก

5.5.3. 3.เครื่องมือแพทย์ที่ต้องแจ้งรายการละเอียด ต้องแสดงเลขที่ใบรับแจ้ง

5.5.4. 4.เครื่องมือแพทย์ทั่วไป ไม่ต้องแสดงเครื่องหมาย อย. หรือเลขที่ใบรับแจ้ง

5.5.5. 5.วัตถุอันตรายที่ใช้ในบ้านเรือน ต้องมีเลขใบรับแจ้ง

5.6. ตัวอย่างเครื่องหมาย อย.

5.6.1. 1.เลขจังหวัดที่ตั้งของสถานที่ผลิต

5.6.2. 2.สถานะของหน่วยงานที่อนุญาต

5.6.3. 3.เลขประจำสถานที่ผลิต

5.6.4. 4.เลขท้ายของปี พ.ศ. ที่อนุญาต

5.6.5. 5.หน่วยงานที่อนุญาตผลิตภัณฑ์

5.6.6. 6.เลขลำดับของผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการอนุญาต

5.7. อาหารขบเคี้ยวที่กำหนดให้แสดง GDA บริเวณด้านหน้าของฉลากมี 5 ชนิด

5.7.1. 1.มันฝรั่งทอดกรอบหรืออบกรอบ

5.7.2. 2.ข้าวโพดคั่วหรืออบกรอบ

5.7.3. 3.ข้าวเกรียบหรืออาหารขบเคี้ยวชนิดอบพอง

5.7.4. 4.ขนมปังกรอบ แครกเกอร์หรือบิสกิต

5.7.5. 5.เวเฟอร์สอดไส้

5.8. ปริมาณพลังงานและสารอาหารที่เป็นร้อยละของปริมาณสูงสุดที่บริโภคได้ต่อวัน

5.8.1. ค่าพลังงานเป้นร้อยละของพลังงาน 2,000 กิโลแครอรี่

5.8.2. ค่าน้ำตาลคิดเป้นร้อยละของน้ำตาล 65 กรัม

5.8.3. ค่าไขมันคิดเป็นร้อยละของไขมัน 65 กรัม

5.8.4. ค่าโซเดียมร้อยละ 2,400 มิลลิกรัม

6. นางสาว วนาลี ปันสม เลขที่ 70