การพัฒนาการมีส่วนร่วมอย่างสันติ

Lancez-Vous. C'est gratuit
ou s'inscrire avec votre adresse e-mail
การพัฒนาการมีส่วนร่วมอย่างสันติ par Mind Map: การพัฒนาการมีส่วนร่วมอย่างสันติ

1. การมีส่วนร่วม

1.1. ทฤษฎี

1.1.1. การเกลี้ยกล่อมมวลชล

1.1.2. การระดมสร้างขวัญคนในชาติ

1.1.3. การสร้างความรู้สึกชาตินิยม

1.1.4. การสร้างผู้นำ

1.1.5. การใช้วิธีและระบบทางการบริหาร

1.2. ความหมาย

1.2.1. ร่วมคิด ตัดสินใจ

1.2.2. ลงมือแก้ไขปัญหา

1.3. แนวคิด

1.3.1. ความหมายในแต่ละประเทศและบริบทแตกต่างกันออกไป ดังนั้นจึงควรจำกัดเฉพาะในระบบเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง

1.4. ขั้นตอนและกระบวนการ

1.4.1. ค้นหาปัญหาและสาเหตุ

1.4.2. วางแผนดำเนินงาน

1.4.3. ลงมือทำ

1.4.4. ติดตาม ประเมินผล และรับประโยชน์ร่วมกัน

1.5. ระดับและกรรมวิธี

1.5.1. ร่วมให้ข้อมูล

1.5.2. ร่วมรับข้อมูล

1.5.3. ร่วมตัดสินใจ

1.5.4. ร่วมปฏิบัติ

1.5.5. ร่วมสนับสนุนด้านอื่น

1.5.6. ร่วมประชุมอภิปราย

1.6. การส่งเสริม

1.6.1. สร้างความสัมพันะ์ที่ดี ลดการขัดแย้ง

1.6.2. สร้างค่านิยมร่วมแรงร่วมใจ

1.6.3. ให้การศึกาาอบรม

1.6.4. ทำงานเป็นทีม

1.6.5. สร้างพลังชุมชน

2. การบริหารความขัดแย้ง

2.1. ความหมาย

2.1.1. การที่แต่ละฝ่ายไป ด้วยกันไม่ได้ในเรื่องเกี่ยวกับความต้องการ ไม่ว่าจะเป็นความต้องการจริง หรือศักยภาพที่จะเกิดตามต้องการ

2.2. ธรรมชาติความขัดแย้ง

2.2.1. การขาดแคลนทรัพยากรธรรมชาติ

2.2.2. การแสวงหาอำนาจ

2.2.3. ตกลงกันไม่ได้เกี่ยวกับ เป้าหมาย หรือวิธีการในการทำงาน

2.3. สาเหตุ

2.3.1. ความคิดเห็น

2.3.2. แนวทางการปฏิบัติ

2.3.3. ผลประโยชน์

2.4. กระบวนการ

2.4.1. สภาพการณ์ก่อนการเกิดความขัดแย้ง

2.4.2. ความขัดแย้งที่รับรู้ได้

2.4.3. ความขัดแย้งที่รู้สึกได้

2.4.4. พฤติกรรมที่ปรากฏชัด

2.4.5. การแก้ปัญหาหรือการระงับปัญหา

2.4.6. ผลจากการแก้ปัญหา

2.5. ประเภท

2.5.1. ความขัดแย้งของบุคคล

2.5.2. ความขัดแย้งขององค์การ

2.6. ผลบวก

2.6.1. ป้องกันความเฉื่อยชาและกระตุ้นความสนใจหรือกล่าวได้ว่าความไม่แน่นอนของสถานะภาพอาจถือเป็นการทดสอบความความสามารถของบุคคล

2.7. ผลลบ

2.7.1. เกิดความสับสนไม่เป็นระเบียบและยุ่งเหยิงกับระบบงานและสิ้นเปลืองทั้งความพยายามและทรัพยากรในการจัดการแก้ไข

2.8. หลักการสำคัญ

2.8.1. การหลบหลีกความขัดแย้ง

2.8.2. การให้ความช่วยเหลือ

2.8.3. การแข่งขัน

2.8.4. การให้ความร่วมมือ

3. สันติวิธี

3.1. ความหมาย

3.1.1. วิธีที่จะก่อให้เกิดความสงบ เช่น เจรจาสงบศึกโดยสันติวิธี

3.2. รุปแบบ

3.2.1. สันติวิธีแบบชั้นเดียว

3.2.1.1. การเคลื่อนไหวโดยไม่ใช้“ความรุนแรง” แต่มุ่งให้ได้ “ชัยชนะ” ของฝ่ายตน

3.2.2. สันติวิธีแบบสองชั้น

3.2.2.1. การใช้วิธีการอันเป็นสันติ รวมถึงการพูดจาต่อรอง (Negotiation) เพื่อให้ได้ “ข้อตกลงร่วมกัน"