สารสนเทศทางการพยาบาล

Just an initial demo map, so that you don't start with an empty map list ...

Lancez-Vous. C'est gratuit
ou s'inscrire avec votre adresse e-mail
สารสนเทศทางการพยาบาล par Mind Map: สารสนเทศทางการพยาบาล

1. บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสารสนเทศ

1.1. ความสำคัญของสารสนเทศ

1.1.1. เป็นรากฐานอันจำเป็นสำหรับความก้าวหน้าของอารยธรรมและสังคม

1.1.2. เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการสร้างสรรค์หรือการใช้ทรัพยากร

1.1.3. เป็นองค์ประกอบที่ต้องใช้ในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม

1.1.4. เป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้ในการตัดสินใจ

1.2. ความหมายของสารนิเทศ ความรู้ ข้อมูล ข่าวสารข้อเท็จจริง ความคิดเห็นหรือประสบการณ์ต่างๆที่มีการบันทึก จัดพิมพ์และมีการถ่ายทอด เผยแพร่ให้เกิดประโยชน์ในด้านต่างๆ

1.3. แหล่งสารสนเทศ

1.3.1. แหล่งสารสนเทศที่เป็นบุคคล

1.3.2. แหล่งสารสนเทศที่เป็นสื่อมวลชน

1.3.3. แหล่งสารสนเทศที่เป็นสถาบัน

1.3.4. แหล่งสารสนเทศอินเตอร์เน็ต

1.4. ประเภทของสารสนเทศ

1.4.1. วัสดุตีพิมพ์(Printed materials) เช่น หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์

1.4.2. วัสดุไม่ตีพิมพ์ (Non-printed material) เป็นทรัพยากรที่บันทึกไว้ในสิ่งที่ไม่ได้ตีพิมพ์

1.4.3. ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic database) เป็นการเก็บไว้ด้วยระบบคอมพิวเตอร์

2. NLM ระบบห้องสมุดแพทย์แห่งชาติอเมริกัน(Nation Library of Medicine Classification) สำหรับหนังสือการแพทย์ พยาบาล และสาขาที่เกี่ยวข้อง โดยจัดตั้งแต่ QS-QZ ซึ่งเป็นหมวดพรีคลินิก และ W-WZ จะเป็นหนังสือทางการแพทย์

3. บทที่ 2 ระบบสารสนเทศในห้องสมุดและวิธีการสืบค้น

3.1. องค์ประกอบของห้องสมุด

3.1.1. อาคารสถานที่

3.1.2. ทรัพยากรสารสนเทศ

3.1.3. บรรณารักษ์ และเจ้าหน้าที่

3.1.4. งบประมาณ

3.2. การจัดระบบห้องสมุด

3.2.1. DC ระบบนิยมดิวอี้ (Dewey Decimal Classification) เป็นระบบที่ใช้ตัวเลขในระบบทศนิยมแทนเนื้อหาของหนังสือ

3.2.2. LC ระบบห้องสมุดรัฐสภาอเมริกัน (Library of congress classification)ใช้ตัวอักษรโรมันเป็นสัญลักษณ์ตั้งแต่ A-Z

3.3. ประเภทของห้องสมุด

3.3.1. ห้องสมุดโรงเรียน

3.3.2. ห้องสมุดวิทยาลัย

3.3.3. ห้องสมุดเฉพาะ

3.3.4. ห้องสมุดประชาชน

3.3.5. หอสมุดแห่งชาติ

3.4. วิธีการสืบค้นและการใช้ประโยชน์จากสารสนเทศในห้องสมุด

3.4.1. วิธีการค้นหา

3.4.1.1. ใช้เครื่องมือช่วยค้น ซึ่งห้องสมุดสร้างขึ้นมาเพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ใช้

3.4.2. ประเภทของเครื่องมือช่วยค้น

3.4.2.1. เครื่องมือช่วยค้นข้อมูลสารสนเทศในรูปเอกสาร

3.4.2.2. เครื่องมือช่วยค้นทางอิเลกทรอนิกส์

3.4.2.3. เครื่องมือช่วยค้นสารสนเทศโดยใช้เสิรช เอ็นจิน

3.4.3. ประเภทของเครื่องมือช่วยค้น