ทฤษฎีเกี่ยวกับจิตวิทยา

Lancez-Vous. C'est gratuit
ou s'inscrire avec votre adresse e-mail
ทฤษฎีเกี่ยวกับจิตวิทยา par Mind Map: ทฤษฎีเกี่ยวกับจิตวิทยา

1. Sullivan's theory ( personal development)

1.1. การทำงานประสานกันของระบบทั้ง3

1.1.1. 1.การแปรผัน (dynamism)

1.1.2. 2.กระบวนการของพฤติกรรม(pattern)

1.1.3. 3.การแปรผันพลังจิต(dynamism of psychiatry)

1.2. ทารกจะได้ประสบการณ์3ด้าน

1.2.1. 1.ประสบการณ์ที่ได้คำชมเชย

1.2.2. 2.ประสบการณ์ที่ทำให้เกิดความวิตกกังวลสะสมทีละน้อย

1.2.3. 3.ประสบการณ์ที่ทำให้เกิดความวิตกกังวลรุนแรงเฉียบพลัน

1.3. ความสัมพันธ์ของทารกที่มีต่อพ่อแม่เกิดจากประสบการณ์ดังนี้

1.3.1. 1.ภาพตนเองว่า”ฉันดี”

1.3.2. 2.ภาพตนเองว่า”ฉันเลว”

1.3.3. 3.ภาพ”ไม่ใช่ฉัน”

2. Kohlberg's theory (moral development)

2.1. พัฒนาทางการจริยธรรมมี 6 ระดับ

2.1.1. ระดับที่1 ระดับก่อนมีจริยธรรรมของระดับของกฎเกณฑ์สังคม(pre-conventional level)ระดับนี้เด็กจะได้รับกฎเกณฑ์และข้อกำหนดของพฤติกรรมที่ดี-ไม่ดีจากผู้มีอำนาจเหนือตน

2.1.2. ระดับที่2ระดับจริยธรรมตามกฎเกณฑ์สังคม(conventional level)ระดับนี้ผู้ทำถือว่าการประพฤติตนตามความคาดหวังของผู้ปกครอง

2.1.3. ระดับที่3ความคาดหวังและการยอมรับในสังคม สำหรับเด็กเล็ก(interpersonal concordance of “Good boy nice girl”orientation)ระดับนี้บุคคลจะใช้หลักทำตามที่ผู้อื่นเห็นชอบ

2.1.4. ระดับที่4กฎและระเบียบ(law-and-order orientation)ระดับนี้จะใช้หลักทำตามหน้าที่ทางสังคม โดยปฎิบัติตามอย่างเคร่งครัด

2.1.5. ระดับที่5สัญญาสังคมหรือหลักการทำตาม คำมั่นสัญญา (social contract orientation)ระดับนี้บุคคลมีเหตุผลในการเลือกกระทำโดยคำนึงถึงประโยชน์ของคนหมู่มาก

2.1.6. ระดับที่6 หลักการคุณธรรมสากล(universal Ethical Principle Orientation)ระดับนี้ตัดสินใจที่จะกระทำโดยยอมรัยความคิดที่เป็นสากล

3. Erikson's theory ( psychosocial developmen )

3.1. พัฒนาการทางบุคลิกภาพแบ่งเป็น 8 ขั้น

3.1.1. 1.Infancy period (ระยะทารก) 0-2 ปี :Trust Vs mistrust ขั้นวางใจไม่วางใจผู้อื่น

3.1.2. 2.Toddler period (วัยเริ่มต้น) 2-3 ปี :Autonomy Vs shame and doubt มีความอิสระ ละอาย สงสัย

3.1.3. 3.Preschool period (ก่อนไปโรงเรียน) 3-6 ปี :Initiative Vs Guit มีความคิดริเริ่ม รู้สึกผิด

3.1.4. 4.School period (เข้าโรงเรียน) 6-12 ปี :Industry Vs Inferiority เอาการเอางาน,ความมีปมด้อย

3.1.5. 5.Adolescent period (วัยรุ่น) 12-20 ปี :Identify Vs role confusion เข้าใจอัตลักษณ์ของตนเอง

3.1.6. 6.Eary adult period (ระยะต้นผู้ใหญ่) 20-40 ปี :Intimacy Vs Isolation ความใกล้ชิด รู้สึกเปล่งปลั่ง

3.1.7. 7.Adult period (ผู้ใหญ่) 40-60 ปี :Generaltivity Vs self-absorbtion พะว้าพะวงตัวเอง

3.1.8. 8.Aging period (สูงอายุ) 60 ปีขึ้นไป :Integrity Vs Despair ความมั่นคงทางจิตใจ,ความสิ้นหวัง

4. Frued's theory (Psychosexual theory)

4.1. การทำงานของจิต

4.1.1. 1.จิตใต้สำนึก (Unconscious Mind)

4.1.2. 2.จิตสำนึก (Conscious Mind)

4.1.3. 3.จิตก่อนสำนึก (Preconscious Mind)

4.2. โครงสร้างของบุคลิกภาพ

4.2.1. 1.อิด (Id) เป็นต้นกำเนิดบุคลิกภาพ

4.2.2. 2.อีโก้ (Ego) ทำหน้าที่ผสาน Id และ Superego

4.2.3. 3.ซูเปอร์อีโก้ (Superego) ทำหน้าที่เกี่ยวกับศีลธรรม จริยธรรม

5. Piaget’s theory (cognitive development)

5.1. 4 ระยะ

5.1.1. 1.ระยะใช้ประสาทสัมผัส (sensory-organ stage) เป็นการพัฒนาตั้งแต่แรกเกิดถึงอายุ 2ปี พัฒนาการรับรู้โดยใช้ประสาทสัมผัส ตลอดจนเริ่มมีการพัฒนาใช้อวัยวะทำงานเบื้องต้นได้

5.1.2. 2.ระยะควบคุมอวัยวะต่างๆ (preoperational stage) เป็นการพัฒนาในช่วงอายุ 2 ปีถึง 7 ปี วัยนี้จะมีการพัฒนาสมอง

5.1.3. 3.ระยะที่คิดอย่างเป็นรูปธรรม(concrete-operational stage) เป็นพัฒนาการอายุ 7-11 ปีจะมีการพัฒนาสมองที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว

5.1.4. 4.ระยะที่คิดอย่างเป็นนามธรรม(formal-operational stage) เป็นพัฒนาการในช่วงสุดท้ายของเด็กอายุ 12-15 ปี ก่อนจะเป็นผู้ใหญ่ แด็กช่วงนี้สามารถคิดอย่างมีเหตุผล