Começar. É Gratuito
ou inscrever-se com seu endereço de e-mail
Hyperemesis gravidarum por Mind Map: Hyperemesis gravidarum

1. สาเหตุ

1.1. ความไม่สมดุลย์ของระดับฮอร์โมน เช่น Estrogens, HCG, ที่มีมากเกินไป

1.2. สาเหตุด้านจิตใจ

1.3. สาเหตุส่งเสริม

1.3.1. Pancreatitis

1.3.2. Bilinary tract disease

1.3.3. การหลั่ง HCL ในกระเพาะอาหารลดลง

1.3.4. Drug toxicity

1.3.5. Inflammation obstruction bowel disease

1.3.6. Vitamin deficiency

2. อาการ

2.1. อาการไม่รุนแรงรุนแรง

2.1.1. อาเจียนน้อยกว่า 5 ครั้ง/วัน สามารถทำงานได้ปกติ.

2.1.2. อาเจียนไม่มีน้ำ หรือเศษอาหาร

2.1.3. น้ำหนักตัวลดลงเล็กน้อย ไม่ขาดสารอาหาร

2.1.4. ทำกิจวัตรประจำวันได้ปกติ

2.2. อาการรุนแรงปานกลาง

2.2.1. อาเจียนติดต่อกัน 5-10 ครั้ง/วัน

2.2.2. อาเจียนติดต่อกันภายใน 2-4 สัปดาห์

2.2.3. ไม่สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้.

2.2.4. อ่อนเพลีย

2.2.5. น้ำหนักลด ขาดสารอาหาร

2.2.6. Acidosis

2.3. อาการรุนแรงมาก

2.3.1. อาเจียนมากกว่า 10 ครั้ง/วัน

2.3.2. อาเจียนทันทีภายหลังรับประทาน

2.3.3. อาเจียนติดต่อกันเกิน 4 สัปดาห์

2.3.4. อ่อนเพลีย ซูบผอม น้ำหนักตัวลดมาก

2.3.5. ขาดสารอาหารรุนแรง

2.3.5.1. ผิวหนังแห้ง ไม่ยืดหยุ่น ปากแห้ง ลิ้นเป็นฝ้าขาว หนา แตก.

2.3.5.2. ตาลึก ขุ่น มองภาพไม่ชัดเจน

2.3.5.3. ปัสสาวะขุ่น ออกน้อย

2.3.5.4. ตัวเหลือง ท้องผูก ไข้ ความดันโลหิตลดลง.

3. การวินิจฉัย

3.1. การซักประวัติ

3.1.1. อาการคลื่นไส้ อาเจียน อย่างรุนแรงภายใน 12 สัปดาห์แรกของการตั้งครรภ์ หรือยาวนานมากกว่า 12 สัปดาห์ขึ้นไป น้ำหนักลด กระหายน้ำ สะอึก ปัสสาวะออกน้อย ปวดศีรษะ

3.2. การตรวจร่างกาย

3.2.1. ในรายที่มีอาการรุนแรง น้ำหนักลด ผิวหนังแห้ง ลิ้นเป็นฝ้า ริมฝีปากแห้ง แตก ปากและ ฟันสกปรก ลมหายใจมีกลิ่นเหม็น.

3.3. การตรวจทางห้องปฏิบัติการ

3.3.1. CBC : Na K CL ลดลง Hct SGOT LFT BUN สูงขึ้น

3.3.2. Urine : specific gravity สูง พบprotein ketones

4. ผลต่อมารดา

4.1. Dehydration

4.2. Electrolytes imbalances

4.3. Ketoacidosis

4.4. Nutrition deplement, Hypovitaminosis

4.5. อาหารไม่ย่อย เรอ ปวดศีรษะ ท้องผูก น้ำหนักลด เบื่อ วิตกกังวล

5. ผลต่อทารก

5.1. Intrauterine growth retardation

5.2. Fetal anomalies

5.3. Abortion/Preterm delivery

5.4. Fetal mortality