บทที่4 การทบทวนวรรณกรรม

Começar. É Gratuito
ou inscrever-se com seu endereço de e-mail
บทที่4 การทบทวนวรรณกรรม por Mind Map: บทที่4 การทบทวนวรรณกรรม

1. การเขียนกรอบแนวคิดการวิจัย

1.1. กรอบแนวคดิ หมายถึง ทฤษฎี แนวความคิดหรือหลักการที่ใช้อ้างอิงหรือใช้เป็นบรรทดัดฐานในการทำวิจัย

1.2. หลักในการกำหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย

1.2.1. ตรงประเด็น

1.2.2. ง่าย,ไม่ซับซ้อน

1.2.3. สอดคล้องกับความสนใจ

1.3. ขั้นตอนการกำหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย

1.3.1. 1. ทำความเข้าใจชื่อเรื่องการวิจัย

1.3.2. 2. กำหนดประเด็นปัญหาหลัก

1.3.3. 3. กำหนดตัวแปร

1.3.4. 4. กำหนดข้อมูลแหล่งข้อมูล

1.3.5. 5.กำหนดประเด็นปัญหาที่ต้องการทราบ

1.4. วิธีการเขียนกรอบแนวคิดวิจัย

1.4.1. แบบพรรณนาความ

1.4.1.1. มีตัวแปรอะไรบ้างที่สำคัญเกี่ยวกับปัญหา

1.4.1.2. มีความสัมพันธ์กับตัวแปรอย่างไร

1.4.1.3. เหตุผลหรือทฤษฎีอะไรมาสนับสนุน

1.4.2. แบบแผนภาพ

1.4.2.1. เป็นการเสนอกรอบแนวคิดโดยใช้แผนภาพ เพื่อทำให้เกิดความชัดเจนมากขึ้น

1.4.3. แบบจำลอง

1.4.3.1. เสนอกรอบแนวคิดโดยใช้สัญญลักษณ์หรือสมการระบุความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระ-ตาม

1.4.3.1.1. เป็นการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร 2 ตัวหรือหลายตัว

1.4.3.1.2. ชี้ให้เห็นถึงรูปแบบและทิศทางของ ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร

1.4.4. แบบผสมผสาน

1.4.4.1. เป็นการผสมผสานระหวา่งแบบพรรณนากับ แบบจำลองการพรรณนากับแผนภาพ และแผนภาพกับแบบจำลอง

2. การทบทวนกรรณกรรม

2.1. ความหมาย

2.1.1. การศึกษาเชิงทฤษฎี ผลงานวิจัย รายงานต่างๆที่เกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎีจากหนังสือ ตำรา รายงานวิจัยหรือแหล่งความรู้อื่นประกอบด้วยการอ่าน ฟัง ซักถามเพื่อให้เข้าใจในสิ่งที่ศึกษา ทั้งใช้วิเคราะห์และสังเคราะห์ให้ได้แนวคิดทีี่เป็นประโยชน์การทำวิจัย

2.2. ความสำคัญ

2.2.1. เพื่อเลือกและกำหนดปัญหาการวิจัยไม่ซ้ำกับผู้อื่น

2.2.2. เพื่อแสดงถึงวิวัฒนาการความรู้ของเรื่องที่ทำวิจัยโดยกว่าถึงทฤษฎีต่างๆทำให้มีความรู้เบื้องต้น

2.2.3. เพื่อเป็นพื้นฐานการสร้างกรอบแนวคิด

2.3. จุดมุ่งหมาย

2.3.1. รวบรวมแนวคิดการตั้งปัญหาการวิจัย

2.3.2. รอบรู้ในข้อเท็จจริง

2.3.3. เตรียมกรอบทฤษฎีการวิจัย

2.3.4. ประเมินความเป็นไปได้ของวิจัย

2.3.5. รวบรวมข้อมูลรายละเอียดในเรื่องวิธีและเครื่่องมือ

2.3.6. เพื่อเกิดความไว้วางใจการเปรียบเทียบ

2.3.7. ช่วยให้ผู้อ่านคุ้นเคยกับวิธีการศึกษาและข้อมูลต่างๆ

2.4. หลักเกณฑ์

2.4.1. เกี่ยวข้อง/ใกล้เคียงกับวิจัย

2.4.2. ครอบคลุมตัวแปรที่จะศึกษามาก

2.4.3. พิจารณางานวิทยานิพนธ์/วิจัยที่เสนอนวคิดกับเรื่องที่ทำ

2.4.4. เกี่ยวข้องกับศาสตร์ทางการพยาบาล/ศาสตร์อื่นๆ

2.5. ขั้นตอนทบทวน

2.5.1. ค้นหาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

2.5.2. อ่านอย่างพินิจพิเคราะห์

2.6. วิธีเขียนผลการทบทวน

2.6.1. นำเอกสารมาเรียบเรียงเชื่อมโยงกัน

2.6.1.1. แนวคิด/ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง

2.6.1.2. ข้อค้นพบตัวแปรที่ศึกษา

2.6.1.3. กล่าวถึงสิ่งที่น่าศึกษา

2.6.1.4. *เขียนชื่อผู้แต่ง+รายละเอียดเรื่องที่วิจัยว่า เรื่อง, ปี,พบอะไร